ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
โดย นพ.สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ วันที่ 9 มกราคม 2556 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
2
นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ โดย นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 ธันวาคม 2555 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กทม.
6
การแปลงแผนงาน/มาตรการ รองรับ KPI
คนไทยสุขภาพดี Strategic Focus 61 KPI แผนส่วนกลาง/กรม แผนงาน/มาตรการ รองรับ KPI Basic Package 20 KPI แผนพัฒนาสุขภาพ เขต/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล Specific Issues 18 KPI 1.แผนงานบริการ 2. แผนงานส่งเสริมป้องกันโรค 3. แผนงานบริหาร(25 แผนงาน) เป้าหมาย/KPI ยุทธศาสตร์/มาตรการ งบประมาณทั้งเขต
7
ระบบงบประมาณที่ใช้ในเขตสุขภาพ
สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ สปสช.เขต MOU MOU 8 Flagships (BS, NP) (NP) เขต สธ. PPA งบ UC งบ สธ. Non UC แผนยุทธ กำกับติดตาม จังหวัด PPA BS, NP, AH อำเภอ PPE
8
วงเงินงบ PP ที่ดำเนินการร่วมกัน
ค่าวัคซีน สมุดบันทึก 1,130 ล้าน 1. งบ NPP 1,682 ล้าน แผนระดับชาติ ล้าน 2. งบ PPE 3,300 ล้าน (หักเงินเดือน) ระดับเขต 3. งบ PPA 1,114 ล้าน (หักงบสนับสนุนกองทุนตำบล) งบรวม ,082 ล้าน (เขตละ ล้าน) 4. งบสนับสนุน ล้าน งบกระทรวง ล้าน 5. งบทันต ,085 ล้าน (เขตละ ล้าน) 6. งบกองทุนโรคเรื้อรัง 82 ล้าน
9
อาจปรับเกลี่ยให้หน่วยงานระดับพื้นที่เพิ่มเติมได้
สัดส่วนการจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ.ศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขต ร้อยละ 10 จังหวัด ร้อยละ 20 พื้นที่ ร้อยละ 70 ใช้ฐานประชากรกลางปี 54 และจำนวน รพ.สต. สัดส่วนอย่างละ ร้อยละ 50 กำหนดได้ความเหมาะสม อาจปรับเกลี่ยให้หน่วยงานระดับพื้นที่เพิ่มเติมได้
10
วงเงินจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ. ศ
วงเงินจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ.ศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วย: บาท
11
งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยภาพงบประมาณฯ 1.จัดสรรตามร่างสำนักงานปลัดฯ ทั้งระดับเครือข่าย จังหวัด พื้นที่ได้แก่ เครือข่าย 7 – 12 ส่วนเครือข่าย 2- 5 จัดสรรตามร่างสป.ฯ แต่ระดับเครือข่ายรอจัดสรร 2. จัดสรรเบื้องต้น ร้อยละ 50 ของวงเงินทั้งเครือข่ายให้ระดับพื้นที่ที่เหลือรอจัดตามแผนงาน/โครงการของจังหวัด ได้แก่ เครือข่าย 6 3. ระดับเครือข่ายรอจัดสรร ร้อยละ 20 จัดสรรระดับจังหวัดร้อยละ 10 และระดับพื้นที่ ร้อยละ 70 ได้แก่ เครือข่าย 1
12
ตัวอย่างรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณฯ รายจังหวัด เครือข่าย10
หน่วย: ลบ. เกณฑ์: จำนวนประชากรกลางปี และ รพ.สต.
13
ตัวอย่างรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณฯ รายจังหวัด เครือข่าย1
หน่วย: ลบ.
14
งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
1. งบประมาณฯ Non UC - ระดับจังหวัด - ระดับอำเภอ 2. งบประมาณฯ UC ระดับจังหวัด - PPE เครือข่ายบริการระดับอำเภอ
15
แผนพัฒนาเขตสุขภาพ บริการ(4 แผน) บริหาร (8 แผน) สส ปก (13 แผน)
สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS การบริหารกำลังคน-จริยธรรม พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง สาธารณสุขชายแดน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ยาเสพติด อาหารปลอดภัย โครงการพระราชดำริ การควบคุมโรคติดต่อ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
16
ลักษณะสำคัญของ แผนสุขภาพเขต
- แผนรวมของกิจกรรม/โครงการทุกระดับ เน้นรายแผนงาน ( 25 แผนงาน) - การจัดทำแผนในระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล การกำหนดเป้าหมาย กิจกรรมการดำเนินงาน และ งบประมาณที่ใช้
17
ตัวอย่างแผนบูรณาการของแผนงานงาน แผนงานพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียน
มีองค์ประกอบ 4 เรื่อง 1.Growth & Development กรมอนามัย 2. EQ / IQ กรมสุขภาพจิต 3. Vaccines กรมควบคุมโรค 4. Oral Health กรมอนามัย ยุทธศาสตร์ / มาตรการ 1.โภชนาการ 2.เพิ่มไอโอดีน 3.คัดกรองสุขภาพจิต 4. EPI Program 5. ตรวจสุขภาพฟัน งบประมาณ : กรม / เขต/ จว. (รวมทุกแหล่ง)
18
การกำกับติดตาม และประเมินผล
- การรายงานผลใน 21 และ 43 แฟ้ม - การประเมินผลและพัฒนาบริการ - การสำรวจและวิจัย
19
การจัดทำรายงานผลการดำเนินการ เพื่อตอบสนองต่อชีวิต (KPI)
s 7 KPI จากระบบข้อมูลเกิด-ตาย ของมหาดไทย s 30/52 KPI ได้จากการนิเทศประเมินผล และสำรวจ s
20
ตัวอย่าง KPI จากข้อมูล ใน 21 แฟ้ม
S 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ เมื่ออายุครรภ์ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 เดือน (ไม่น้อยกว่า 60) 11. ร้อยละของสตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก (ไม่น้อยกว่า 80) 13. ร้อยละของประชาชนอายุ>=15 ปี ได้รับคัดกรอง DM, HT (ไม่น้อยกว่า 90)
21
ตัวอย่าง KPI จากการนิเทศประเมิน
S 1. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3. ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 6. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 10. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพดี/ดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70)
22
ตัวอย่าง KPI จากการสำรวจ และแหล่งข้อมูลต่างๆ
S 8. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของ นร.ชาย มัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 10. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกวิธี (ไม่น้อยกว่า 80) 12. สัดส่วนของมะเร็งเต้านม ปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 20. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (อัตราร้อยละ 50)
23
...สวัสดี...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.