งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
นัทฐ์หทัย ไตรฐิ่น กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1 พฤษภาคม 2556

2 หัวข้อการนำเสนอ 1. ที่มาและความสำคัญของการจัดทำคำรับรอง การปฏิบัติราชการ 2. ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 3. หลักการกำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน

3 วัตถุประสงค์ของการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
เพื่อสร้างความรับผิดชอบ (Accountability) ให้แก่ คู่ลงนามในการดำเนินงานตามเป้าหมายที่ระบุไว้ใน คำรับรองฯ  เพื่อให้เกิดการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง  เพื่อสร้างความรู้สึกการมีส่วนร่วมและความผูกพันกับ เป้าหมาย  เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ  เพื่อใช้ในการพิจารณาจัดสรรสิ่งจูงใจและเงินรางวัล

4 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 : พรฎ.GG มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรหรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มาตรา 45 ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กำหนด

5 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ พ.ศ.2550 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน กำหนดให้มีการปรับปรุงระบบการประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและทำข้อตกลงว่าด้วยผลงานประจำปี ให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงานรายปี กับหัวหน้าส่วนราชการ ไว้เป็นการล่วงหน้า รวมทั้งให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามข้อตกลงดังกล่าวทุกสิ้นปี และถือเป็นเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ส่วนราชการ

6 คำรับรองการปฏิบัติราชการ คือ ...
เอกสารแสดงความจำนงของผู้ทำคำรับรองเกี่ยวกับการพัฒนาการปฏิบัติราชการและผลการดำเนินการของส่วนราชการ ที่ต้องการบรรลุผล โดยมีตัวชี้วัด น้ำหนัก เป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน ระหว่างผู้ทำคำรับรอง (หัวหน้าส่วนราชการ) กับผู้รับคำรับรอง (ผู้บังคับบัญชาของหัวหน้าส่วนราชการ) เป็นคำรับรองของผู้ลงนามคำรับรองฝ่ายเดียว มิใช่สัญญา และกำหนดระยะเวลาการปฏิบัติราชการ 1 ปี โดยเริ่มต้นปีงบประมาณ ถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ (วันที่ 1 ตุลาคม ถึง วันที่ 30 กันยายน ของปีถัดไป)

7 เอกสารลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
 คู่ลงนามคำรับรองฯ  ระยะเวลาที่คำรับรองมีผล 2. เอกสารประกอบคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับกรม ระดับหน่วยงาน ● วิสัยทัศน์ ● พันธกิจ ● ประเด็นยุทธศาสตร์ ● ตัวชี้วัด น้ำหนัก ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไขการวัดผล ● ตัวชี้วัด ● น้ำหนักตัวชี้วัด ● ค่าเป้าหมายตามเกณฑ์ การให้คะแนน

8 คู่ลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ลงนามกับ นายกรัฐมนตรี ระดับกระทรวง ปลัดกระทรวง ลงนามกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ รองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจ) ลงนามกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ร่วมกับ ปลัดกระทรวง ระดับกรม อธิบดี ลงนามกับ รองปลัดกระทรวง(หัวหน้ากลุ่มภารกิจ) ร่วมกับ ปลัดกระทรวง หน่วยงานสังกัดกรม อนามัย หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดกรม ลงนามกับ อธิบดี ร่วมกับ รองอธิบดีที่กำกับดูแลหน่วยงาน

9 รองอธิบดีที่กำกับดูแลหน่วยงาน
คำสั่งกรมอนามัย ที่ 114/2556 สั่ง ณ วันที่ 12 ก.พ. 56 นพ.ธีรพล โตพันธานนท์ นพ.ณรงค์ สายวงศ์ นพ.ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กองแผนงาน สำนักงานเลขานุการกรม อนามัย กลุ่มพัฒนาความร่วมมือ ทันตสาธารณสุขระหว่าง ประเทศ ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง สำนักสุขาภิบาลอาหาร และน้ำ สำนักโภชนาการ กองออกกำลังกายเพื่อ สุขภาพ กองการเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองประเมินผลกระทบต่อ สุขภาพ ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรม อนามัย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข กองคลัง กลุ่มตรวจสอบภายใน (เฉพาะงานบริหารการเงิน การพัสดุ) ศูนย์อนามัยที่ ศูนย์อนามัยที่ ศูนย์อนามัยที่ หน่วยงานที่ขึ้นตรงต่ออธิบดี ได้แก่ สำนักที่ปรึกษา กลุ่มตรวจสอบภายใน

10 ตัวอย่าง คำรับรองการปฏิบัติราชการ
สำนักส่งเสริมสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 1. คำรับรองระหว่าง ชื่อ นายเจษฎา โชคดำรงสุข ตำแหน่ง อธิบดีกรมอนามัย ผู้รับคำรับรองฯ ชื่อ นายธีรพล โตพันธานนท์ ตำแหน่ง รองอธิบดีกรมอนามัย ผู้เห็นชอบคำรับรองฯ และ ชื่อ นายดนัย ธีวันดา ตำแหน่ง ผอ.สำนักส่งเสริมสุขภาพ ผู้ทำคำรับรองฯ 2. คำรับรองฯ นี้เป็นคำรับรองฝ่ายเดียว มิใช่สัญญาและใช้สำหรับระยะเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2556 3. รายละเอียดของคำรับรองฯ ได้แก่ เอกสารประกอบท้ายคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2556 ของหน่วยงานรายตัวชี้วัด ตามที่ปรากฏอยู่ในเอกสารประกอบท้ายคำ รับรองฯ นี้ 4. ข้าพเจ้า นายธีรพล โตพันธานนท์ ในฐานะรองอธิบดีกรมอนามัยที่ได้รับมอบหมายให้กำกับ ติดตามการปฏิบัติราชการของ นายดนัย ธีวันดา และรองอธิบดีกรมอนามัยที่เกี่ยวข้อง ได้ พิจารณาเห็นชอบกับรายละเอียดของคำรับรองฯ ตามข้อ 3 และเอกสารประกอบท้ายคำรับรองฯ นี้ และข้าพเจ้ายินดีจะให้คำแนะนำ กำกับ และตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการของ นายดนัย ธีวันดา ให้เป็นไปตามคำรับรองฯ ที่จัดทำขึ้นนี้

11 5. ข้าพเจ้า นายดนัย ธีวันดา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ ได้ทำความเข้าใจ คำรับรองฯ ตาม ข้อ 3 แล้ว ขอให้คำรับรองกับ อธิบดีกรมอนามัย และรองอธิบดีกรมอนามัย ว่าจะมุ่งมั่นปฏิบัติราชการให้เกิดผลงานที่ดีตามเป้าหมายของตัวชี้วัดแต่ละตัวในระดับสูงสุด เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนตามที่ให้คำรับรองฯ ไว้ 6. ผู้รับคำรับรองฯ และผู้ทำคำรับรองฯ รวมทั้งผู้เห็นชอบคำรับรองฯ ได้เข้าใจคำรับรองการปฏิบัติ ราชการและ เห็นพ้องกันแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (ลงชื่อ) (นายดนัย ธีวันดา) ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ ผู้ทำคำรับรองฯ 12 มีนาคม 2556 (นายธีรพล โตพันธานนท์) รองอธิบดีกรมอนามัย ผู้เห็นชอบคำรับรองฯ (นายเจษฎา โชคดำรงสุข) อธิบดีกรมอนามัย ผู้รับคำรับรองฯ

12 เฉพาะตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่หน่วยงานรับผิดชอบ
ตัวอย่าง รายละเอียดตัวชี้วัดประกอบท้ายคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 หน่วยงาน สำนักส่งเสริมสุขภาพ มิติภายนอก ประเด็นการประเมินผล : การประเมินประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ คะแนนตัวชี้วัด : 100 คะแนน ดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดที่ 1.1 ตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กรมอนามัยกำหนด ดังนี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 50 55 65 70 เฉพาะตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่หน่วยงานรับผิดชอบ

13 ขั้นตอนการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับกรม เจ้าภาพจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน จัดส่งแผนฯ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด เจรจาความเหมาะสมของตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน หน่วยงานจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและลงนามคำรับรองฯ จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและลงนามคำรับรองฯ ดำเนินการ และประเมินผลตนเองรอบ 6 9 และ 12 เดือน (รายงานใน DOC) เจ้าภาพ 31 มี.ค./30 มิ.ย./30 ก.ย. ดำเนินการ และประเมินผลตนเองรอบ 6 9 และ 12 เดือน 15 เม.ย./15 ก.ค./ 15 ต.ค. หน่วยงานเจ้าภาพประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน 30 เม.ย./31 ก.ค./31 ต.ค. สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาผลตามคำรับรองฯ และจัดสรรสิ่งจูงใจ กรมจัดสรรสิ่งจูงใจให้หน่วยงาน

14 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับกรม ปี 2556
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) 1. นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจหลัก 1.1 นโยบายสำคัญและภารกิจหลัก ของกระทรวง (30+A) 1.2 ภารกิจหลักของกรมและ (27-A) Joint KPI 1.3 ASEAN Readiness (3) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. ร้อยละความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ (10) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 3. ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (3) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.5) 5. ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ (2.5) 6. มาตรการประหยัดพลังงาน (3) 7. การปรับปรุงกระบวนงาน (4) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 15) 8. การพัฒนาบุคลากร (5) ลักษณะสำคัญขององค์การ GAP การพัฒนาบุคลากร แผนพัฒนาบุคลากร 9. การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ (3) GAP ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ 10. การปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ (3) GAP วัฒนธรรมองค์การ แผนปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ 11. การสร้างความโปร่งใส (4) 11 ตัวชี้วัด = 100 คะแนน

15 กลไกการพัฒนาระบบราชการ ปี 2556 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
คำสั่งกรมอนามัยที่ 267/2555 สั่ง ณ วันที่ 22 มีนาคม 2555 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 1 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 2 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 3 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 4 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 5 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 7 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 8 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 9 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 10 เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 11 คณะทำงานหมวด 2 คณะทำงานหมวด 3 คณะทำงานหมวด 4 คณะทำงานหมวด 5 คณะทำงานหมวด 6 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ คำสั่งกรมอนามัยที่ 1102/2555 สั่ง ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2555 เครือข่าย กพร. ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย คำสั่งกรมอนามัยที่ 14/2556 สั่ง ณ วันที่ 10 มกราคม 2556

16 พิจารณากำหนดตัวชี้วัด
หลักการกำหนดตัวชี้วัดด้านการประเมินประสิทธิผล (ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจของกรม) วิสัยทัศน์/พันธกิจของกรม ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้า ประสงค์ เป้า ประสงค์ ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 เป้า ประสงค์ เป้า ประสงค์ ตัวชี้วัด/ เป้าหมาย พิจารณากำหนดตัวชี้วัด นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง นโยบาย รัฐบาล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรมอนามัย

17 คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator : KPI) คือ เครื่องมือที่ใช้ในการบ่งชี้ความสำเร็จของการดำเนินงาน คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี  มีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กระทรวง วิสัยทัศน์ ภารกิจ ยุทธศาสตร์ขององค์กร และกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการของสำนักงาน ก.พ.ร.  แสดงถึงผลการดำเนินงานที่สำคัญขององค์กร  สามารถวัดผลและกำหนดเป้าหมายของความสำเร็จอย่างเป็น รูปธรรมได้  สามารถนำไปปฏิบัติได้ตามบริบทของส่วนราชการ  สะท้อนผลสำเร็จในระดับผลผลิตหรือผลลัพธ์  องค์กรสามารถควบคุมได้อย่างน้อยร้อยละ 80  ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในองค์กร ข้อสังเกต : ตัวชี้วัดที่มีผลงานในระดับที่ดีมากมาอย่างต่อเนื่องและคาดว่าไม่ อาจพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นได้ ควรยกเลิก

18 ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม 18 ตัวชี้วัด
คือ KPI ที่กรมลงนามกับกระทรวง ตัวชี้วัดด้านส่งเสริมสุขภาพ 12 ตัวชี้วัด เจ้าภาพ 1.1 ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1.2 ร้อยละของโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง 1.3 จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 1.4 ร้อยละของสตรีอายุ ปี มีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 1.5 ร้อยละของอำเภอที่มีตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 1.6 ร้อยละของวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน 1.7 จำนวนอำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว 1.8 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ รพท. รพช.) ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1.9 ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ สำนักทันตฯ 1.10 จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ สำนักโภชนาการ 1.11 จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 1.12 ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข มีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย กองออกกำลังกายฯ

19 ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม (ต่อ)
= KPI ที่กรมลงนาม กับกระทรวง ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม (ต่อ) ตัวชี้วัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 ตัวชี้วัด เจ้าภาพ 1.13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นให้มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 1.14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นให้มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน 1.15 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบประปาให้ได้ มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 1.16 จำนวนสถานบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการดำเนินกิจกรรม GREEN ครบถ้วนทั้ง 5 กิจกรรม สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.17 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตัวแบบด้านการประเมินผล กระทบต่อสุขภาพ กองประเมินผลกระทบฯ 1.18 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม

20 ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกระทรวง
1. อัตราป่วยหรือตายด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประชาชนทั้งประเทศลดลง 2. สัดส่วนแพทย์และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสังกัดกระทรวง สาธารณสุขต่อประชากรทั้งประเทศ 3. ร้อยละของข้อร้องเรียนเกี่ยวกับความผิดพลาดในการรักษาพยาบาลลดลง ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs)  การลดต้นทุนในการรักษาพยาบาล (Cost per head) การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเชียน (ASEAN Readiness)  ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเชียน ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1. งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์อนามัยที่ 1-12 2. งานบริการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

21 ความสอดคล้องของนโยบาย/แผนกระทรวง/ประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวชี้วัด
KPI ระดับกรม/หน่วยงาน การประหยัดพลังงาน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน การลดต้นทุนในการรักษาพยาบาล(Cost Per Head) ระดับความสำเร็จของการจัดทำตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกันเรื่องการลดต้นทุนในการรักษาพยาบาล นโยบาย รัฐบาล Joint KPI Every Child Every Women KPI ระดับกรม/หน่วยงาน ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ แผน PP กท.สธ. ร้อยละของ รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์กรม การลดภาวะโรคอ้วนคนไทย จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรม ระดับความสำเร็จของอปท.ที่มีระบบการจัดการ สอ.

22 เปรียบเทียบตัวชี้วัดระดับกรม-หน่วยงาน ปี 2556
ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน 1 นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลัก ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม 18 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.1 – 1.18 1.1 นโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลและภารกิจหลักของกระทรวง 1.2 ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม (4 ตัวชี้วัด) และ Joint KPI (การลดต้นทุนในการรักษาพยาบาล) 1.3 ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเชียน 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1.งานบริการสาธิต การรับรอง มฐ. .... ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพใน ศอ.1-12 3 การจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต การปราบปรามการทุจริต 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 5 ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ 6 การประหยัดพลังงาน 7 การปรับปรุงกระบวนการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่บุคคล 8 การพัฒนาบุคลากร การเรียนรู้ สร้างความสัมพันธ์กับ C/SH 9 การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ การรายงานข้อมูลแผน/ผล 10 การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร 11 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

23 สรุปตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556
การประเมินประสิทธิผล 1. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม 18 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดด้านส่งเสริมสุขภาพ 12 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 ตัวชี้วัด (กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และ สำนัก/กองวิชาการ) การประเมินคุณภาพ 2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ  งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพ ในศูนย์อนามัยที่ 1-12 (กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร) มิติภายนอก มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ 3. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (กองการเจ้าหน้าที่) 4. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (กองคลัง) 5. ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ (7 ตัวชี้วัดย่อย) (กองแผนงาน) 6. การประหยัดพลังงาน (สำนักงานเลขานุการกรม) การพัฒนาองค์การ 7. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ ระดับบุคคล (หมวด 2) (กองแผนงาน) 8. การเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH (หมวด3) (สำนักงานเลขานุการกรม) 9. การรายงานข้อมูลแผน/ผลการดำเนินงาน และงบประมาณ (หมวด 4) (กองแผนงาน) 10. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร(หมวด 5) (กองการเจ้าหน้าที่) 11. การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า (หมวด 6) (คณะทำงานหมวด 6) รวม 28 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดละ 100 คะแนน (... ) = เจ้าภาพ

24 แบบฟอร์มรายละเอียดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน
ดำเนินการโดยหน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ : คะแนนตัวชี้วัด : 100 คะแนน คำอธิบาย :  คำอธิบายตัวชี้วัดนี้ เช่น นิยาม ขอบเขตการประเมิน ฯลฯ  หน่วยงานที่ ต้องจัดทำคำรับรองตัวชี้วัดนี้ เกณฑ์การให้คะแนน : หน่วยงาน ข้อมูลปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนน 20 40 60 80 100 เงื่อนไขในการกำหนดค่าเป้าหมาย หลักฐานอ้างอิง : ……หลักฐานที่แสดงถึงความสำเร็จของการดำเนินงาน...………. ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : (ผอ.) โทรศัพท์ : 0-xxxx-xxxx โทรศัพท์ : 0-xxxx-xxxx ผู้ประสานงาน : โทรศัพท์ : 0-xxxx-xxxx โทรศัพท์ : 0-xxxx-xxxx หน่วยงาน : ……(เจ้าภาพ)…………………….

25 ตัวอย่างรายละเอียดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 1.7 จำนวนอำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว คะแนนตัวชี้วัด : 100 คะแนน คำอธิบาย :  องค์ประกอบการดำเนินงาน อำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว ประกอบด้วย 1. ร้อยละ 30 ของผู้สูงอายุมีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์ 2. มีตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 20 3. มีวัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานอย่างน้อยร้อยละ 20  ผู้สูงอายุมีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์ หมายถึง  ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว หมายถึง  วัดส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน หมายถึง  หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจเกี่ยวข้องต่อการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดดังกล่าว ต้อง จัดทำคำรับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ ได้แก่ สำนักส่งเสริมสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-12  การประเมินผล พิจารณาจากการดำเนินงานตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

26 เกณฑ์การให้คะแนน : หน่วยงาน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ
จำนวนของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 สำนักส่งเสริมสุขภาพ 28 52 76 124 ศูนย์อนามัยที่ 1 1 2 4 6 8 ศูนย์อนามัยที่ 2 ศูนย์อนามัยที่ 3 3 7 9 11 13 ศูนย์อนามัยที่ 4 10 12 ศูนย์อนามัยที่ 5 ศูนย์อนามัยที่ 6 ศูนย์อนามัยที่ 7 5 ศูนย์อนามัยที่ 8 ศูนย์อนามัยที่ 9 ศูนย์อนามัยที่ 10 ศูนย์อนามัยที่ 11 ศูนย์อนามัยที่ 12 เงื่อนไขในการกำหนดค่าเป้าหมาย : ค่าเป้าหมายที่ระดับคะแนน 60 ของ ศูนย์อนามัยที่ 1-12 คือ จำนวนอำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว ของศูนย์อนามัย จังหวัดละ 1 อำเภอ

27 หลักฐานอ้างอิง 1. ทะเบียนรายชื่ออำเภอผ่านเกณฑ์ 2. รายงานผลการดำเนินงาน 6 9 และ 12 เดือน ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1.นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ โทรศัพท์ : 2.นายแพทย์เอกชัย เพียรศรีวัชรา โทรศัพท์ : , ผู้ประสานงาน : 1.นางอรวี รมยะสมิต โทรศัพท์ : ที่ทำงาน , มือถือ 2.นางวิมล บ้านพวน โทรศัพท์ : ที่ทำงาน , มือถือ หน่วยงาน : กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพ

28 คะแนนตัวชี้วัด : 100 คะแนน ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก
ตัวอย่างตัวชี้วัดที่มีตัวชี้วัดย่อยมากกว่า 1 ตัว : ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย คะแนนตัวชี้วัด : 100 คะแนน ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก (Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 5.1 จำนวนโครงการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ ฯ 25 26 27 28 29 SM1 (W1 x SM1) 5.2 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ฯ 61,600 65,450 69,300 73,150 77,000 SM2 (W2 x SM2) 5.3 จำนวนบุคลกรฯ ได้รับการพัฒนาด้านอนามัยแม่ และเด็ก 336 357 378 399 420 SM3 (W3 x SM3) 5.4 จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุฯ 600 700 800 900 1,000 SM4 (W4 x SM4) 5.5 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการพัฒนาด้าน HIA และการเฝ้าระวังฯ 300 400 500 SM5 (W5 x SM5) 5.6 จำนวนเด็กอายุ< 2 ปี ที่แม่ติดเชื้อ HIV ได้รับนมผง 4,200 4,450 4,700 4,950 5,200 SM6 (W6 x SM6) 5.7 จำนวนบุคลากรฯใน ถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมฯ 2,000 2,125 2,250 2,375 2,500 SM7 (W7x SM7) รวม 1.0  (Wi x SMi)

29 ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่ 5.7 จำนวนบุคลากรและประชาชนในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนา ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การให้คะแนน : หน่วยงาน ข้อมูล ปี 2555 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ จำนวนของผลสำเร็จตามเป้าหมาย 20 40 60 80 100 สำนักส่งเสริมสุขภาพ 2,734 2,000 2,125 2,250 2,375 2,500 ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง 729 400 425 450 475 500 ศูนย์อนามัยที่ 2 - 120 127 135 143 150 ศูนย์อนามัยที่ 3 340 128 142 ศูนย์อนามัยที่ 4 343 160 170 180 190 200 ศูนย์อนามัยที่ 5 85 90 95 ศูนย์อนามัยที่ 6 268 ศูนย์อนามัยที่ 7 260 240 255 270 285 300 ศูนย์อนามัยที่ 9 68 ศูนย์อนามัยที่ 10 453 ศูนย์อนามัยที่ 11 140 ศูนย์อนามัยที่ 12 712

30 ตัวอย่างตัวชี้วัดแบบขั้นตอนการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล 20 40 60 80 100 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1-2 ขั้นตอนที่ 1-3 ขั้นตอนที่ 1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 ขั้นตอนที่ ประเด็นการประเมินผล 1 มีกรอบแนวทางในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับ หน่วยงานและระดับบุคคล 2 มีแผนภาพ (Flow Chart) แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 3 มีการสื่อสารและสร้างความเข้าใจให้บุคลากรรับทราบถึงตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกรอบการประเมินผล 4 มีการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานและมีการรายงานผลการ ดำเนินงานตามกรอบแนวทาง /แผนภาพที่กำหนด 5 มีการสรุปบทเรียนการดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามกรอบแนวทางที่กำหนด ตัวชี้วัดในลักษณะขั้นตอนการดำเนินงาน ใช้สำหรับงานที่ริเริ่มใหม่ในปีนั้นๆ ซึ่งไม่สามารถดำเนินการให้เกิดผลผลิตหรือผลลัพธ์ได้ภายในปีนั้น

31 การกำหนดน้ำหนักตัวชี้วัด
พิจารณาจาก  ความสำคัญของภารกิจ  นโยบายขององค์กร  ความต้องการในการผลักดันให้เกิดผลสำเร็จ  การริเริ่มสิ่งใหม่ๆ  ผลกระทบในด้านที่ดีและประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ โดยตรง

32 ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก
ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิต ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก (Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ ผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 5.1 จำนวนโครงการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ ฯ 25 26 27 28 29 SM1 (W1 x SM1) 5.2 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ฯ 61,600 65,450 69,300 73,150 77,000 SM2 (W2 x SM2) 5.3 จำนวนบุคลกรฯ ได้รับการพัฒนาด้านอนามัยแม่ และเด็ก 336 357 378 399 420 SM3 (W3 x SM3) 5.4 จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุฯ 600 700 800 900 1,000 SM4 (W4 x SM4) 5.5 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการพัฒนาด้าน HIA และการเฝ้าระวังฯ 300 400 500 SM5 (W5 x SM5) 5.6 จำนวนเด็กอายุ< 2 ปี ที่แม่ติดเชื้อ HIV ได้รับนมผง 4,200 4,450 4,700 4,950 5,200 SM6 (W6 x SM6) 5.7 จำนวนบุคลากรฯใน ถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมฯ 2,000 2,125 2,250 2,375 2,500 SM7 (W7x SM7) รวม 1.0  (Wi x SMi)

33 ตัวอย่างการกำหนดน้ำหนักตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับ เป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก(Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับผลสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 5.1 จำนวนโครงการ ศึกษาพัฒนา องค์ความรู้ ฯ 0.35 1 2 3 SM1 (W1 x SM1) 5.2 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการถ่ายทอด องค์ความรู้ ฯ 280 298 315 333 350 SM2 (W2 x SM2) 5.6 จำนวนเด็กอายุ น้อยกว่า 2 ปี ที่แม่ ติดเชื้อ HIV ได้รับ นมผง 0.30 820 840 860 880 900 SM3 (W3 x SM3) รวม 1.0  (Wi x SMi)

34 ตัวอย่างการคำนวณคะแนนตัวชี้วัดที่มีตัวชี้วัดย่อยมากกว่า 1 ตัว
ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับ เป้าหมายผลผลิตตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย ตัวชี้วัด (i) น้ำ หนัก (Wi) เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับผลสำเร็จ ตามเป้าหมายของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน คะแนน ที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 20 40 60 80 100 5.1 จำนวน โครงการ ศึกษาพัฒนา องค์ความรู้ฯ 0.35 - 1 2 3 (0.35 x 80) =28 5.2 จำนวนบุคลากรฯ ได้รับการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ฯ 280 298 315 333 350 (0.35 x 60) =21 5.6 จำนวนเด็กอายุ น้อยกว่า 2 ปี ที่แม่ติดเชื้อ HIV ได้รับนมผง 0.30 820 840 860 880 900 (0.3 x 80) =24 รวม 1.0  (Wi x SMi) =73

35 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด แบ่งเป็น 5 ระดับ
เป็นเกณฑ์ท้าทายที่ส่วนราชการต้องบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้ได้ผลดีกว่าปกติอย่างมาก มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสทำได้น้อยมาก 5 ดีกว่าเป้าหมาย 4 เป็นเกณฑ์ที่ส่วนราชการต้องบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ให้ได้ผลดีกว่าปกติ มีความยากปานกลาง เป้า หมาย เป็นเกณฑ์ที่แสดงว่าส่วนราชการสามารถปฏิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ หรือสามารถรักษาระดับผลการดำเนินงานของปีที่ผ่านมาไว้ได้ 3 2 เป็นเกณฑ์ที่แสดงว่าส่วนราชการปฏิบัติได้ต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ต่ำกว่าเป้าหมาย 1 เป็นเกณฑ์ที่แสดงว่าส่วนราชการปฏิบัติได้ต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้มาก

36 การกำหนดค่าเป้าหมายตามเกณฑ์การให้คะแนน
ค่าเป้าหมาย คือ เครื่องบอกระดับของความสำเร็จ พิจารณาจาก...  แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ  เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่ปฏิบัติ เหมือนกันทั้งในและต่างประเทศ  มาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป  ผลการดำเนินงานในอดีต  แนวโน้มของผลการดำเนินงาน  ผลการดำเนินงานที่ดีที่สุดของหน่วยงาน  กำหนดค่าเป้าหมายขึ้นเอง (กรณียังไม่มีข้อมูลที่จะนำมาพิจารณา)

37 ข้อสังเกต  โดยปกติเป้าหมายจะถูกกำหนดไว้ที่คะแนนระดับ 3
 ค่าเป้าหมายที่คะแนนระดับ 3 จะใช้ผลการดำเนินงานใน ปีที่ผ่านมา มากำหนดเป็นค่าเป้าหมาย เพื่อเป็นการ ผลักดันให้รักษามาตรฐานของการดำเนินงานที่ดีไว้  ค่าเป้าหมายที่คะแนนระดับ 5 ต้องไม่ต่ำกว่าผลงานที่ทำ ได้ในปีที่ผ่านมา และไม่ควรต่ำกว่าผลงานที่ส่วนราชการ เคยทำไว้ดีที่สุดในอดีต  การกำหนดช่วงเกณฑ์การให้คะแนน (Interval) พิจารณาจากแนวโน้มการเติบโตของผลการดำเนินงาน โดยใช้ค่าเฉลี่ยของอัตราการเติบโตย้อนหลัง 3-5 ปี

38 ตัวอย่างการกำหนดช่วงเกณฑ์การให้คะแนน (Interval)
ตัวชี้วัด ผลงาน 2552 2553 2554 2555 ร้อยละของโรงเรียนได้มาตรฐาน...... 52 55 56 62 ค่าเฉลี่ยอัตราการเติบโต (A) = (3+1+5)/3 = 3 ตัวชี้วัด เป้า หมาย เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของโรงเรียนได้มาตรฐาน...... 62 62-2A = 56 62-A = 59 62+A = 65 62+2A = 68

39 ตัวอย่าง การกำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน
ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ปี 2556 (น้ำหนักรวมร้อยละ 24) ตัวชี้วัด น้ำ หนัก (ร้อยละ) เป้า หมาย ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน 2553 2554 2555 1 2 3 4 5 1. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กใน อปท.มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 6 70 61.40 69.15 68 69 71 72 2. ร้อยละของ รพ.สังกัด สป. ผ่านเกณฑ์บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 20 - 10.88 10 15 25 30 3. จำนวน รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 154 60 66 105 128 141 167 180 4. จำนวน อปท. มีระบบการสุขาภิบาลอาหาร ระดับพื้นฐาน 24 14 18 21 27

40 ให้ที่ประชุมช่วยกันพิจารณาตัวชี้วัดต่อไปนี้
เป็น KPI หรือ PI ? จำนวนนักวิจัยที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำนวนครั้งที่ผู้บริหาร/เจ้าหน้าที่เป็นวิทยากรบรรยาย โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จำนวนโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร ร้อยละของโรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

41 บทบาทหน่วยงานในการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
หน่วยงานเจ้าภาพ ทุกหน่วยงานในสังกัด เข้าร่วมประชุมการชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด แก่หน่วยงาน (ในที่ประชุม) เจรจาต่อรองความเหมาะสมของค่าเป้าหมายตามเกณฑ์การให้คะแนน(ถ้ามี) จัดทำคำรับรองฯ ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยงาน หัวหน้าหน่วยงานลงนามคำรับรองฯ กับอธิบดีและรองอธิบดี ประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน ดำเนินการตามคำรับรองฯ จัดทำรายงาน SAR ในภาพรวมของกรม รอบ เดือน ส่ง กพร.กรม รายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Report : SAR) รอบ เดือน ผ่านระบบ DOC

42 การประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
รองอธิบดี ที่กำกับดูแล/จัดเจรจา หน่วยงาน ได้ข้อสรุป รายงาน SAR รอบ 12 เดือน ผ่านระบบ DOC กพร.กรม สรุปคะแนนผลประเมิน หน่วยงานเจ้าภาพ กพร. กรม เจ้าภาพประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน ได้ข้อสรุป หน่วยงานส่งหลักฐานการดำเนินงาน เห็นด้วย กพร.กรม แจ้งผลคะแนนการประเมินให้หน่วยงานและแจ้งสิทธิการอุทธรณ์ ไม่ได้ข้อสรุป ไม่เห็นด้วย เจรจากับเจ้าภาพ

43 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google