งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ประเพณีงาม ลือนามดอกบัวตอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ประเพณีงาม ลือนามดอกบัวตอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ประเพณีงาม ลือนามดอกบัวตอง
งานอนามัยแม่และเด็ก หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียวขจี ผู้คนดี ประเพณีงาม ลือนามดอกบัวตอง

2 ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปางมะผ้า ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน พื้นที่ 12, ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,969,750 ไร่ ร้อยละ 90 เป็นพื้นที่ภูเขาและป่าไม้ ทุกอำเภอมีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศเมียนมาร์ การปกครอง แบ่งเป็น 7 อำเภอ 45 ตำบล 416 หมู่บ้าน อำเภอเมือง ปาย ขุนยวม แม่ลาน้อย ประชากรรวม 244,667 คน ชาย % หญิง % ชาวพื้นราบ % ชาวเขา % - 7 ชนเผ่า มีประชากรต่างด้าวแทรกซึมทุกหย่อมหญ้า แม่สะเรียง สบเมย

3 อัตราตายปริกำเนิด จ.แม่ฮ่องสอน
ปีงบประมาณ เป้าหมาย: ไม่เกิน 9 ต่อการเกิด 1,000 คน สาเหตุ : ตายเปื่อยยุ่ย สูงสุด อัตรา : 1000 การเกิดทั้งหมด ปีงบฯ

4 อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด จ.แม่ฮ่องสอน ปีงบประมาณ 2551 - 2556
( BIRTH ASPHYXIA ) จ.แม่ฮ่องสอน ปีงบประมาณ เป้าหมาย: ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน อัตรา : 1000 การเกิดมีชีพ ปีงบฯ

5 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
จ.แม่ฮ่องสอน ปีงบประมาณ เกณฑ์ : ไม่เกิน ร้อยละ 7 ร้อยละ ปีงบฯ

6 จำนวนหญิงฝากครรภ์รายใหม่
ปีงบประมาณ อำเภอ ปีงบฯ 2555 ปีงบฯ 2556 ปีงบฯ 2557ครึ่งปี ไทย ต่างด้าว เมือง 305 144 355 165 61 24 แม่สะเรียง 449 45 509 66 101 21 ปาย 320 92 303 120 42 20 ขุนยวม 210 25 201 19 41 7 แม่ลาน้อย 460 2 396 78 สบเมย 569 594 63 104 14 ปางมะผ้า 174 84 180 93 15 รวม 2,487 470 2,538 533 469 ร้อยละ 84.1 15.9 82.6 17.4 82.3 17.7

7 จำนวนหญิงคลอด ปีงบประมาณ 2554 -2556
จำนวนหญิงคลอด ปีงบประมาณ อำเภอ ปีงบฯ 2555 ปีงบฯ 2556 ปีงบฯ 2557ครึ่งปี ไทย ต่างด้าว เมือง 494 373 503 401 124 80 แม่สะเรียง 863 127 939 128 193 14 ปาย 375 69 368 164 146 23 ขุนยวม 367 42 236 59 189 11 แม่ลาน้อย 377 1 392 2 99 สบเมย 492 67 543 47 129 ปางมะผ้า 171 87 162 39 21 รวม 3,139 766 3,143 881 919 163 ร้อยละ 80.4 19.6 78.1 21.9 84.9 15.1 หมายเหตุ : หญิงคลอด คือ หญิงที่คลอดทั้งในและนอกสถานบริการ

8 โครงการ LCDIP จ.แม่ฮ่องสอน 1 สิงหาคม 2556 – 31 มีนาคม 2557

9 การจัดระบบดำเนินโครงการ
กำหนดผู้ประสานงานของ รพ.(project manager) 1. รพ.ศรีสังวาลย์ คุณสมศรี จิตซื่อ 2. รพ.ขุนยวม คุณกรรณิกา เมืองมานิตย์ 3. รพ.แม่ลาน้อย คุณพุดตาน สุริยะไพร 4. รพ.แม่สะเรียง คุณวันเพ็ญ มโนวงศ์ 5. รพ.ปาย คุณสุพาณี เกิดศรี 6. รพ.สบเมย คุณชญานิษฐ์ ถิ่นวนา 7. รพ.ปางมะผ้า คุณดวงหทัย จันทร์วรจักร

10 การจัดระบบดำเนินโครงการ
2. เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ของ รพ.ทุกแห่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานเข้ารับการอบรมการใช้เครื่องมือตรวจประเมินและกระตุ้นพัฒนาการเด็กจากสถาบันพัฒนาการเด็กฯ ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ รพ.ทุกแห่ง - ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 18 พย.56 ผ่านระบบ VDO Conferrence - ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 13 มีค.57 - ครั้งที่ พค.57

11 การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม
จัดทำแผนผังการดำเนินงานเฉพาะพื้นที่ จ .แม่ฮ่องสอน (เอกสาร 1) 2. แบบลงทะเบียนการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ชื่อ – สกุล เด็ก ว/ด/ปี ที่คลอด ชื่อ –สกุล มารดา สภาวะเด็ก(BA/LBW) น้ำหนักแรกเกิด การเข้าร่วมโครงการ เข้าร่วมโครงการ ไม่เข้า

12 การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม
3. บันทึกข้อมูลโปรแกรม เด็กคลอดที่มีภาวะ BA/ LBWทุกรายที่แม่มีเลขประจำตัว 13 หลัก - ห้องคลอด LCDIP1 และมอบสมุดติดตามพัฒนาการเด็ก (สมุดสีส้ม + สีเขียว) - ห้องหลังคลอด/NB LCDIP2 ภายใน 7 วัน(ไม่เกิน 1เดือน) - ติดตามพัฒนาการเด็ก LCDIP3 ตามเกณฑ์ 4. จัดระบบติดตามประเมินและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ตามช่วงอายุที่กำหนดโดยใช้คู่มือติดตามพัฒนาการเด็กไทย (LCDSI)เล่มสีเขียว พร้อมทั้งบันทึกข้อมูล LCDIP3

13 การจัดกิจกรรมอื่นๆ 1. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ (คลอด/หลังคลอด) พ่อแม่ ผู้ปกครองได้ฝึกปฏิบัติตามคู่มือเล่มสีเขียว 2. อบรมผู้ดูแลเด็ก /อสม. เรื่อง การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 3. ตรวจประเมินรับรองโดยกุมารแพทย์ หรือ พยาบาลผู้เชี่ยวชาญ (อยู่ระหว่างเตรียมการ)

14 การสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
จัดทำตราปั๊มสัญลักษณ์โครงการ LCDIP (ทดแทนสติ๊กเกอร์โครงการฯ) ให้ รพ.ใช้ประทับใน OPD card และ ด้านในสมุดสีชมพูของเด็ก เบิกจ่ายสมุดคู่มือสีเขียวและสีส้มให้ทุกรพ.

15 การควบคุม กำกับติดตาม
1. การสื่อสารผ่านระบบ LINE : MCH mhs เพื่อสื่อสารภายใน จังหวัด /รับข่าวสารและตอบปัญหาข้อสงสัยของ จนท. 2. เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดติดดามการบันทึกข้อมูล ทุกเดือน และแจ้งกลับให้ รพ.แก้ไขข้อมูล 3. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LCDIP ระดับจังหวัด (เอกสาร 2 ) และมีแผนออกนิเทศติดตามงาน ในเดือน พค.- มิย.57

16 จำนวนเด็ก BA และ LBW จ.แม่ฮ่องสอน
วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 31 มีนาคม 2557 รายการ คนไทยใน CUP คนไทยนอก CUP ต่างด้าว รวม ไทย พื้นราบ พื้นที่สูง ใน จว. นอก จว. ค่ายอพยพ ทารกเกิดมีชีพ ที่คลอดใน รพ. 331 613 215 141 283 60 1643 1300 343 ทารกเกิดมีชีพ ที่ได้รับการชั่งน้ำหนัก 330 592 143 281 57 1618 1280 338 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 28 54 31 16 30 5 164 129 35 ทารกมีภาวะขาดออกซิเจนแรกคลอด 7 6 13 61 42 19

17 จำนวนเด็ก BA และ LBW ที่เข้าโครงการฯ
วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 31 มีนาคม 2557 ลำ ดับ รพ. จำนวน LBW+BA (ไทย+ต่างด้าว) เข้าโครงการ ร้อยละ 1 ศรีสังวาลย์ 62 58 93.55 2 ขุนยวม 42 21 50.00 3 ปาย 16 9 56.25 4 แม่สะเรียง 49 38 77.55 5 แม่ลาน้อย 7 71.43 6 สบเมย 36 8.33 ปางมะผ้า 13 30.77 รวม 225 138 61.33

18 การบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรม LCDIP
วันที่ 1 สิงหาคม 2556 – 20 พฤษภาคม 2557 รายงานข้อมูลสถิติเด็กป่วย โครงการ LCDIP ระหว่างวันที่ 01 สิงหาคม 2556 ถึง 20 พฤษภาคม 2557 จังหวัด ข้อมูลที่ลงบันทึก ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ข้อมูลทั่วไป LCDIP1 LCDIP2 LCDIP3 ชม   973 964 (99 %) 869 (90%) 645 (74%) 971 (99.79%) 839 (87%) 566 (65%) 508  (79%) ลพ 303 298 (98 %) 268 (90%) 188 (70%) (100.00%) 264 (89%) 108 (40%) 130  (69%) ลป  414 386 (93 %) 376 (97%) 220 (59%) 413 (99.76%) 347 (90%) 240 (64%) 188  (85%) แพร่   224 222 (99 %) 206 (93%) 153 (74%) 198 (89%) 141 (68%) 143  (93%) น่าน   279 277 (99 %) 252 (91%) 165 (65%) 242 (87%) 204 (81%) 145  (88%) พะเยา   271 269 (99 %) 224 (83%) 147 (66%) 244 (91%) 116 (52%) (97%) ชร   760 677 (89 %) 647 (96%) 191 (30%) 759 (99.87%) 597 (88%) 490 (76%) 178  มส   170 170 (100 %) 150 (88%) 113 (75%) 161 (95%) 76 (51%) 98  (87%) รวม 3394 3263 2992 1822 3390 2892 1941 1533 % ของข้อมูลที่บันทึก 100.00 % 96.14% 88.16% 53.68% 99.88 % 88.63% 64.87% 84.14%

19 สาระพันปัญหา...แก้ได้

20 การพิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลมีเงื่อนไข
1. ข้อมูลทั่วไป ต้องมีการระบุผลเลือดของมารดา 2. ข้อมูล lcdip1 ต้องมีการระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องครบถ้วน 3. ข้อมูล lcdip2 ถ้าเด็กรอดชีวิตหรือกลับบ้านต้องมีการระบุข้อมูลการติดตามเด็ก (Followup) 4. ข้อมูล lcdip3 ต้องมีการบันทึกผลการประเมินพัฒนาการเด็ก

21 บันทึกภายใน 7 วันหลังคลอด
ปัญหา ทางออก 1.บันทึก LCDIP 2 ล่าช้า บันทึกภายใน 7 วันหลังคลอด 2.บันทึกข้อมูล LCDIP 1-3 บันทึกได้แต่แก้ไขข้อมูลไม่ได้ โทรแจ้งชื่อ รหัส คนไข้ให้ สสจ.ให้แจ้งผู้จัดทำโปรแกรมแก้ไขให้ หรือแจ้งไปที่อีเมล เพื่อให้แก้ไขข้อมูล 3.ไม่ได้สอนและแจก คู่มือเล่มสีเขียวให้มารดา/ผู้ดูแลเด็ก เน้นย้ำก่อนกลับบ้าน 1.เน้นย้ำพ่อแม่ให้ทราบว่าบุตรเป็นเด็กกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง 2.บอกวิธีการใช้หนังสือคู่มือเล่มสีเขียวและสีส้ม 3.ให้แสดงตัวเมื่อมารับบริการโดยแสดงสมุดประจำตัวสีส้ม เพื่อให้ได้รับการดูแลพิเศษมากกว่าเด็กปกติ

22 ปัญหา ทางออก 4.เด็กมารับการตรวจติดตามพัฒนาการ แต่ค้นหารายชื่อในโปรแกรมไม่พบ /จนท.ไม่ทราบว่าเป็นเด็กในโครงการ LCDIP หรือไม่ เพราะไม่มีสมุดประจำตัว/แสดงสัญลักษณ์ -ให้ประทับตราสัญลักษณ์ไว้ที่ OPD Card /สมุดสีชมพู/สมุดทะเบียนการบริการ -ผู้บันทึกข้อมูลต้องบันทึกถูกต้องโดยเฉพาะชื่อมารดา/ชื่อเด็ก/ที่อยู่/รพ.ที่ต้องติดตามพัฒนาการเด็ก 5.การจัดบริการคลินิกเด็กดีใน ระดับ รพ. ไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ให้จัดบริการคลินิกเด็กดี อย่างน้อย 2 ครั้ง/เดือน 6.การจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ มีแต่การให้ความรู้ ไม่เข้าใจ ปรับกิจกรรมเป็นการฝึกปฏิบัติจริงด้วย

23 ปัญหา ทางออก 7.คนไข้ที่อยู่ห่างไกล ให้รพ.สต.ติดตามพัฒนาการและกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม ส่งข้อมูลให้ รพ.เป็นผู้บันทึกข้อมูลในโปรแกรม 8.กรณีกลับบ้านและติดตามพัฒนาการที่คลินิกเด็กดีของรพ. ให้ติ๊ก ที่ Follow up 9.ถ้าส่งไปรับการรักษาที่ รพ.อื่น ให้ติ๊ก ที่ Refer 10.กรณีเด็ก Refer มาตามนัด ไม่ต้องเพิ่ม LCDIP 2 ใหม่ให้ใช้อันเดิม แต่รพ.ที่ส่งมาต้องระบุ Refer 11.ตรวจ Neurodevelopmentในเด็ก Preterm จะให้ผลลบ ให้ติ๊กว่า ทำไม่ได้

24 12.ตรวจ Ankle Clonus ในเด็กBAจะพบว่าผลผิดปกติ ให้ติ๊กว่า ผิดปกติ
ปัญหา ทางออก 12.ตรวจ Ankle Clonus ในเด็กBAจะพบว่าผลผิดปกติ ให้ติ๊กว่า ผิดปกติ 13.ตรวจ ROP exam ให้ตรวจเฉพาะเด็กที่มีความจำเป็นต้องตรวจ (Sub NICU On O2) ถ้าไม่ได้ตรวจ ให้ติ๊กว่า ไม่ได้ตรวจ 14.การติดตามเด็ก จนถึงอายุ 5 ปีจะต้องติดตาม 12 ครั้ง ถ้าขาดการติดตาม ให้เป็น 9 ครั้งจาก 12 ครั้ง (75 %) 15.คลินิก High risk ให้มีการตั้งคลินิกในรพ.แม่ข่ายและรพท. 16.การติดตามพัฒนาการเด็ก จะติดตามไปตามระยะเวลาที่กำหนด ติดตามไปจนกว่าเด็กจะย้ายไปนอกเขต 8 จว.หรือตาย 17. LCDIP 1 – คีย์ซ้ำซ้อน - คีย์น้อยกว่าจำนวนLBW/BAที่มีจริง คีย์ LBW/BA ทุกรายที่มาคลอดใน รพ. -ต้องตรวจสอบข้อมูลต่อเนื่อง

25 ปัญหา ทางออก 18. LCDIP 2 - คีย์ไม่ครบทุกรายการ - ph ต้องไม่เกิน 7 กว่า - ไม่ได้สอนคู่มือเล่มสีเขียวให้ผู้ปกครองเด็ก - referไปรพ.อื่น แต่รพ.ที่ทำคลอดไม่ได้บันทึก LCDIP 1 -ต้องตรวจสอบข้อมูลต่อเนื่อง 19.ปัญหาการติดตามพัฒนาการเด็กในพื้นที่ ไม่มาตามนัด มาไม่ได้ไม่มีรถมาส่ง สร้างเครือข่ายในอำเภอและจังหวัด เพื่อตรวจประเมินและส่งต่อ 20.การประสานภายใน รพ. จนท.ยังไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ LCDIP ประชุมชี้แจงฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

26 ปัญหาอื่นๆ

27


ดาวน์โหลด ppt หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ประเพณีงาม ลือนามดอกบัวตอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google