งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health
Damrong Thamrongloahaphan DDS, MS

2 Content Disease prevention Oral health promotion Epidemiology
Health determinant Oral health promotion Ottawa charter Bangkok charter Individual & Interpersonal approach Public approach

3 Disease Prevention Health Promotion

4 Disease Prevention

5 Disease Illness Sickness

6 Sickness Patient Perspective Professional Perspective
Illness Disease Illness are generally used as synonyms for disease. However, this term is occasionally used to refer specifically to the patient's personal experience of their disease. The term disease broadly refers to any condition that impairs normal function, and is therefore associated with dysfunction of normal homeostasis Patient Perspective Professional Perspective

7 Definition : Disease Prevention
Focuses on prevention strategies the reduce the risk of disease , identified risk factors, or detect disease in its early , most treatable stages. Disease prevention covers measures not only to prevent the occurrence of disease, such as risk factor reduction, but also to arrest its progress and reduce its consequences once established.

8 The Three Levels of Prevention
Tertiary Prevention to limit disability and improve functioning following disease or its complications, often through rehabilitation. Therefore, it is most applicable during the late clinical stage or the stage of diminished capacity. Secondary Prevention to reduce the number of existing cases in a population and, therefore, is most appropriately aimed those in the stage of presymptomatic disease or the early stage of clinical disease. Primary Prevention to reduce the frequency of new cases of disease occurring in a population and, thus is most applicable to persons who are in the stage of susceptibility.

9 1 2 3 ระยะแรก ระยะท้าย โรค พิการ ภาวะแทรกซ้อน

10 Strategies of Primary Prevention
emphasize general health promotion, risk factor reduction, and other health protective measures include health education and health promotion programs healthier lifestyles and environmental health programs Specific examples of primary prevention measures immunization against communicable diseases Fluoride

11 Strategies of Secondary Prevention
early detection swift treatment of disease

12 Strategies of Tertiary Prevention
therapeutic and rehabilitative measure

13 (Non cavitated lesion)
Sound tooth White spot lesion (Non cavitated lesion)

14 How to prevent dental caries
RISK FACTOR EPIDEMIOLOGY

15 EPIDEMIOLOGY ระบาดวิทยา

16 Definition Distribution การกระจายของโรค Determinant ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
Epidemiology is the study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations, and the application of this study to the control of health problems. Distribution การกระจายของโรค Determinant ปัจจัยกำหนดสุขภาพ

17 Distribution Person Place Time
ฟันผุในเด็กเกิดขึ้นในช่วงอายุไหน ผู้เลี้ยงดูเป็นใคร พ่อแม่ทำงานอะไร มีสภาพทางสังคมเศรษฐกิจเป็น อย่างไร Place ฟันผุเกิดขึ้นในพื้นที่ใด จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ในโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก Time ช่วงเวลาที่มีการอุบัติโรค

18 Determinant Host Agent ENV. ระบบภูมิคุ้มกัน น้ำลาย พฤติกรรม กายวิภาค
Biofilm ENV. การเข้าถึงอาหารทำลายสุขภาพช่องปาก การเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพ การเข้าถึงบริการ ระบบครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม นโยบายสาธารณะ

19 Risk Risk is the probability that an event will occur.
Epidemiology ; The probability that a particular outcome will occur following a particular exposure.

20 Risk factor The exposure has occurred before the outcome, or before the conditions are established that make the outcome likely. ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยง ที่จะทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหนเมื่อใด เกิดขึ้นได้อย่างไรและทำไม

21 Exposure Outcome Risk factor Disease

22 Caries Risk Factors

23

24 การเฝ้าระวัง (Surveillance)

25 การติดตาม สังเกตและพิจารณาอย่างต่อเนื่องถึงองค์ประกอบที่มีผลต่อการเกิดและการกระจายของโรค มีขั้นตอนประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลรวมทั้งการรายงานหรือแจ้งข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคจากข้อมูลที่ได้วิเคราะห์และประเมินผลดังกล่าวเพื่อดำเนินการต่อไปในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

26 ระบบการเฝ้าระวัง การรวบรวมข้อมูล (collection of Data) โดยการสังเกต ซักถาม ตรวจสอบและบันทึก การเรียบเรียง (Consolidation) เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมไว้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่ ให้เห็นลักษณะของตัวแปรต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแปลผล (Interpretation) เป็นการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลตามประเด็นต่างๆ เพื่อแสดงลักษณะของประชากรและลักษณะการกระจายของโรคตามตัวแปรต่างๆ การกระจายข่าวสาร (Dissemination) เป็นการรายงานผลไปให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์ต่อไป

27 การคัดกรอง (Screening)

28 a strategy used in a population to identify an unrecognised disease in individuals without signs or symptoms. This can include individuals with pre-symptomatic or unrecognised symptomatic disease.

29 Cavitated lesion Early lesion - P&F caries - White lesion Screening
เด็กอายุ ปี / ป.1ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก Limit progression ฝึกทักษะแปรงฟัน เคลือบฟลูออไรด์วานิช Sealant Cavitated lesion

30 ข้อสังเกตการเฝ้าระวัง และคัดกรอง
เครื่องมือในการเก็บข้อมูล ความตรง (Validity) Sensitivity Specificity ความเที่ยง (Reliability) นิยาม การปรับมาตรฐาน

31 Caries Risk Classification in Child & Adolescent

32 Low risk ไม่มีฟันผุในปีที่ผ่าน
หลุมร่องฟันตื้น หรือได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน อนามัยช่องปากดี มีการใช้ฟลูออไรด์ที่เหมาะสม ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรเป็นประจำ

33 Moderate risk มีฟันผุ 1 ซี่ในปีที่ผ่าน หลุมร่องฟันลึก
อนามัยช่องปากอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ได้รับฟลูออไรด์ไม่สม่ำเสมอ พบ White spot หรือ ฟันผุที่ซอกฟันเมื่อฉายภาพรังสี ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรไม่สม่ำเสมอ ได้รับรักษาโดยทันตกรรมจัดฟัน

34 High risk มีฟันผุ > 2 ซี่ในปีที่ผ่าน
มีประวัติฟันผุที่ด้านผิวเรียบของฟัน Mutan streptococci count มีปริมาณเพิ่มขึ้น หลุมร่องฟันลึก ไม่ได้รับฟลูออไรด์ทั้ง Topical และ Systemic อนามัยช่องปากไม่ดี บริโภคน้ำตาลในความถี่สูง ไปตรวจสุขภาพช่องปากโดยทันตบุคลากรไม่สม่ำเสมอ มีปริมาณการไหลของน้ำลายน้อย ดื่มขวดนม

35 Preventive Model DISEASE RISK INTERVENTION HOST ENV. SURVEILLANCE
AGENT DISEASE HOST ENV. RISK SURVEILLANCE SCREENING


ดาวน์โหลด ppt Disease Prevention and Health Promotion in Dental Public Health

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google