งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย
นำเข้าสู่บทเรียน แจกแบบประเมิน 1,2 ให้ประเมินตนเอง 10 นาที เชิญผู้เข้าอบรม 1 คน เล่าให้ฟังว่า คิดว่าตัวเองทำงานส่งเสริมสุขภาพอะไรบ้าง หรืออาจสรุปจากแบบประเมินที่ตอบกลับมา มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์

2 Dental caries เริ่มเมื่อมี Demineralized ของแร่ธาตุจากผิวฟัน
กระบวนการเกิดโรค เป็น dynamic process เกิดที่รอยต่อ ระหว่าง Plaque กับผิวฟัน ฟันผุระยะเริ่มต้น สามารถป้องกัน ยับยั้ง ทำให้มีการ คืนกลับของแร่ธาตุที่สลายไปได้ การตรวจพบ plaque และ white spot บนผิวฟันเด็ก เป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ บอกขอบเขตที่จะเรียนใน ชม.นี้

3 การตรวจพบ plaque และ white spot บนผิวฟันเด็ก เป็นการเฝ้าระวังที่สำคัญ

4

5 Determinant: biological, physical, chemical, social determinant

6 ฟันผุในเด็ก 3 ปีมีแนวโน้มลดลง การสำรวจทันตสุขภาพแห่งชาติ และการสำรวจระดับจังหวัด 2532-2555
เป้าหมาย 2557 ≤ 57 %

7 เด็กมีฟันผุเพิ่ม ~ 20% หรือ 3 ซี่/คน เมื่อเข้า ศพด.

8 เด็กชนบทฟันผุมากกว่าเด็กในเมือง National survey 2532-2555

9 มาตรการแก้ปัญหาโรคฟันผุในฟันน้ำนม
แปรงฟันด้วย ยาสีฟันฟลูออไรด์ เมื่อเป็น non-cavitated, enamel caries ใช้ Fluoride varnish เมื่อเป็น cavitated enamel caries ใช้ Sealants with Glass Ionomer Cement เมื่อเป็น non- cavitated dentine caries อุดฟัน ด้วย Glass Ionomer Cement เมื่อเป็นรูผุระดับ dentine caries ควบคุมการบริโภค Fermentable carbohydrate

10 มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย 0-2 ปี
ตรวจช่องปาก ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือ ทา Fluoride varnish ในเด็กเสี่ยง รณรงค์ให้ผู้ปกครองแปรงฟันตั้งแต่ฟันขึ้น ซี่แรก ใช้ Silver F เพื่อหยุดยั้งฟันผุ

11 Service plan: เด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ≤ 60% ในปี 2560
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ (วัดปี 2557) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (57) ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและผู้ดูแลได้รับการ ฝึกทักษะการแปรงฟัน (70) และเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช (50) Service plan: เด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ≤ 60% ในปี 2560

12 ทำงานอย่างไร ??? มาตรการ แปรงฟันด้วยยาสีฟัน F ลดน้ำตาล/แป้ง
ทำงานคุณภาพ ทำให้ถึงจุดแก้ปัญหา เข้าใจ/บริหาร กลุ่มเป้าหมาย

13 Setting การทำงาน + ตัวช่วย
คลีนิคเด็กดี ลงทำงานในชุมชน ทำงานใน ศพด. และ เด็กอนุบาล

14 Setting ภาคี WCC จัดระบบ flow ใช้ VCD ช่วย รร.พ่อแม่ แบบ check list ที่ช่วยกันทำงานได้ ชุมชน กลุ่มแปรงฟัน ทา FV ชั่งน้ำหนัก บทบาทชุมชน (นัดหมาย เตือนพ่อแม่) ศพด อนุบาล แปรงฟันคุณภาพ ตรวจ แจ้งผปค. กำจัดรูฟันผุ

15 ผลการฝึกแปรงฟันอย่างมีคุณภาพ
ประชากรตัวอย่าง เด็ก 9-18 เดือน 102 คน (เริ่มต้น 290 คน) ตรวจฟันทั้ง 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง สอนแปรงฟัน เหตุใดต้องแปรงฟัน เราแปรงเอาอะไรออก ทราบอย่างไรว่าฟันสะอาดแล้ว หากฟันเริ่มผุจะสังเกตอย่างไร สอนจากหุ่นก่อน และลงมือปฏิบัติจริง ติดตามผล 2 ครั้ง/ปี ห่างกัน 4 เดือน อสม.ช่วยกระตุ้น

16 ค่าเฉลี่ย dmfs ก่อนและหลังการสอนแปรงฟัน
White Lesion Control (n=46) Test (n=56) Before After P-value excluded 1.85 20.8 <.001 0.34 3.64 0.01 included 4.02 22.24 2.09 5.00 0.056

17 Incremental dmft / dmfs among test and control group
Incremental rate Type dmf P-value dmft exclude white spot Control Test 7.4 1.3 <.001 dmft include white spot 7.1 1.0 dmfs exclude white spot 18.9 3.3 dmfs include white spot 18.2 2.9

18 ตัวอย่างการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในคลินิกเด็กดีอย่างต่อเนื่อง รพ.บางปะอิน
ที่มาของโครงการ เดิมการให้บริการในWCC เริ่มเมื่อเด็ก 18ด. เมื่อเก็บข้อมูลเด็ก 18 ด. พบฟันผุไปแล้ว 28 % ปรับระบบใหม่ ดูแลตั้งแต่อายุ 4,6,9 ด. แนะนำการกินนม การเช็ด ช่องปาก การแปรงฟัน มีระบบติดตามเด็กที่ไม่มารับบริการโดยฝ่าย ส่งเสริมฯ หลังดำเนินการ 3 ปี จึงได้ทำการประเมินผล

19 ร้อยละของเด็กที่มีฟันผุแยกตามการมารับบริการ
อายุที่รับบริการครั้งแรก ฟันผุ P-value 4ด. 2.7 <0.01 6ด. 2.0 9ด. 25.8 18ด. 42.0 จำนวนครั้งที่มารับบริการ ฟันผุ P-value 3ครั้ง <0.01 2ครั้ง 1ครั้ง 25.9 0ครั้ง 42.0

20 สรุป การปรับระบบริการมีผลให้เด็กมารับบริการครั้งแรกอายุน้อยลง จำนวนครั้งของเด็กที่มารับบริการมากขึ้น เด็กอายุ 18 เดือน กินนมหวานลดลง มีแนวโน้มได้รับการแปรง ฟันประจำมากขึ้น เด็กปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ (เพิ่ม 17 %)

21 ตัวอย่างโครงการในระดับชุมชน การเพิ่มศักยภาพ อสม
ตัวอย่างโครงการในระดับชุมชน การเพิ่มศักยภาพ อสม.ในการเฝ้าระวังฟันผุเด็กปฐมวัย จ.ภูเก็ต 18 หมู่บ้าน เด็ก 0-2 ปี 340 คน

22 ปูเสื่อสอน สม่ำเสมอ

23 เราช่วยกัน....แปรงฟัน อสม.สอนผู้ปกครอง

24 ร้อยละของเด็ก 3 ปี มีฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต.เทพกระษัตรี
ร้อยละของเด็ก 3 ปี มีฟันผุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต.เทพกระษัตรี

25 การแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย 3-5 ปี
ตรวจช่องปาก ฝึกผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือ ทา Fluoride varnish ในเด็กเสี่ยง รณรงค์ให้ผู้ปกครองแปรงฟันตั้งแต่ฟันขึ้นซี่แรก การแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย 3-5 ปี

26 ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เด็กอายุ 2 ขวบครึ่ง ถึง 5 ขวบอยู่ในศูนย์เด็กเล็กช่วงเวลาที่ พ่อ-แม่ต้องทำงาน ประมาณ 942,583 คน คิดเป็นร้อยละ 37 ของเด็กปฐมวัยในประเทศไทย ประเทศไทยมีศูนย์เด็กเล็กทุกสังกัดรวม 20,043 แห่ง อยู่ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 17,821 แห่ง (ร้อยละ 89) นอกนั้นอยู่ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรุงเทพมหานคร กระทรวงกลาโหม และกระทรวงแรงงาน กรมอนามัย 2554

27 ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากการสำรวจ 443 แห่งใน 12 จว. ผดด
ข้อมูลทั่วไปของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากการสำรวจ 443 แห่งใน 12 จว. ผดด คน ร้อยละ ศพด.มีห้องเดียว (แห่ง) 50.3 ครูผู้ดูแลเด็กจบปริญญาตรี 63.3 - เอกปฐมวัย 67.4 ครูผู้ดูแลเด็กกำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี 23.4 ในช่วง 2 ปี มีศพด.ที่ผดด.ได้รับการอบรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย 59.1 ศรีสุดา ลีละศิธร สุรางค์ เชษฐพฤนท์. การสำรวจสถานการณ์การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการจัดสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปี 2553 (พท. 12 จังหวัด)

28 ๒.กิจกรรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
แปรงฟันหลังอาหารด้วยยาสีฟัน ฟลูออไรด์ ลดของหวาน เพิ่มผักผลไม้ ตรวจและการรักษาที่จำเป็น พ่อแม่ ผู้ปกครอง รับรู้ปัญหาและ มีส่วนช่วยแก้ไข

29 ลักษณะทางระบาดวิทยา ในเด็กอายุ เดือน พบฟันผุ 82.8% โดย 42.0% เป็น white lesion % เป็น cavity (ธงชัย วชิรโรจน์ ไพศาล 2003) เด็ก 2 ปี white lesion เปลี่ยนเป็น cavity 25% ใน ระยะ 6 เดือน (ทรงชัย ฐิตโสมกุล 2006) จำเป็นต้องทำงานบูรณะด้วย ???

30 Mean caries and height for age

31 3. การประเมินผลและพัฒนา
Input งบประมาณ วิชาการ support Process กิจกรรมครบ มีคุณภาพ Output ผลผลิตได้ตามเป้าหมาย Outcome Effect ลดปัจจัยเสี่ยงเปลี่ยนพฤติกรรม Impact ลดโรค Process evaluation Outcome evaluation

32 การจัดการกับ social determinant
การให้ข้อมูลกับประชาชน health education health information การสร้างโปรแกรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavioral approach) การสร้างกติกา นโยบาย กฎหมาย เพื่อสร้างสภาพแวดล้อม ทางสังคม (Environmental approach)


ดาวน์โหลด ppt มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google