งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

2

3 : รถโรงเรียนเดียวกัน :
24 มิ.ย. – 30 มิ.ย. 55 26 1 ก.ค. – 7 ก.ค. 55 Confirmed Case Carrier 27 25 8 ก.ค. – 14 ก.ค. 55 28 15 ก.ค. – 21 ก.ค. 55 29 22 ก.ค. – 28 ก.ค. 55 30 19 29 ก.ค. – 4 ส.ค. 55 31 5 ส.ค. – 11 ส.ค. 55 32 12 ส.ค. – 18 ส.ค. 55 33 19 ส.ค. – 25 ส.ค. 55 34 26 ส.ค. – 1 ก.ย. 55 20 35 2 ก.ย. – 8 ก.ย. 55 36 9 ก.ย. – 15 ก.ย. 55 37 28 Week 1 23 24 30 Cluster D : โรงเรียนเดียวกัน : 12 11 17 16 15 27 11 14 31 Cluster C : โรงเรียนเดียวกัน : 2 1 4 3 5 6 10 Cluster E : ครอบครัวเดียวกัน : 14 5 7 6 8 9 12 13 7 8 9 26 16 Cluster B : โรงเรียนเดียวกัน : 18 21 13 4 Cluster G : รถโรงเรียนเดียวกัน : 32 10 17 20 18 Cluster F : ครอบครัวเดียวกัน : 19 21 29 Cluster A : ครอบครัวเดียวกัน : 15 22 2 3

4

5 4 confirmed 3 probable 3 Contact and carrier

6

7 สค. กย. ตค. 2 ราย (ต. นาซำ ต. หินฮาว)** 1 ตค. 6 4
** ค้นหาในชุมชนโดยทีม 1 ตค. สค. กย. ตค.

8 Hot Spot of Diphtheria, 17 – 30 Oct 2012 (รายอำเภอ)
เลย หนองบัวลำภู พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ลพบุรี ช. 21 ปี ต.หัวรอ อ.เมืองพิษณุโลก Hx.ไปขอนแก่นเมื่อ 11 – 15 ต.ค. Onset 21 ต.ค. 55 Lab - pending ช 2 ปี ต.สระพัง อ.บ้านแท่น Onset 17 ต.ค. 55 Hx.สัมผัสใกล้ชิดกับญาติที่เพิ่งเดินทางกลับมาจาก อ.ภูเรือ จ.เลย วันที่ 16 ต.ค. Lab - pending ญ 63 ปี ต.โคกสำโรง อ.โคกสำโรง Onset 19 ต.ค. 55 ไม่มี Hx.ออกนอก พท. Lab - pending อำเภอที่พบผู้ป่วยมาก่อน 2 สัปดาห์ล่าสุด อำเภอใหม่ที่พบผู้ป่วยใน 2 สัปดาห์ล่าสุด

9 จำนวนผู้ป่วยสะสม รายจังหวัด พ.ศ. 2555
ยืนยัน สงสัย พาหะ First onset Last onset เลย 26 26 (to be clarified) 24 Jun 7 Oct เพชรบูรณ์ 4 1 13 2 Aug 19 Oct หนองบัวลำภู 3 9 Sep 9 Oct สุราษฎร์ธานี 4 Oct ปัตตานี 5 13 Jul 13 Sep ยะลา 15 Jan เชียงราย 6 Feb ชัยภูมิ* 17 Oct ลพบุรี* พิษณุโลก* 21 Oct รวม 45 36 16 * จังหวัดใหม่ที่พบผู้ป่วยสงสัย

10 พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบ
ความเสี่ยง จังหวัด พบผู้ป่วยยืนยัน 6 จังหวัด: เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สุราษฎร์ธานี ยะลา ปัตตานี พบผู้ป่วยสงสัย / เหตุการณ์ผิดปกติ 6 จังหวัด: เชียงราย สกลนคร อุดรธานี ชัยภูมิ ลพบุรี พิษณุโลก พื้นที่ติดกับพื้นที่เกิดโรค 10 จังหวัด: น่าน พะเยา อุตรดิตถ์ หนองคาย พิจิตร นครสวรรค์ ขอนแก่น นครราชสีมา นราธิวาส สงขลา พื้นที่แรงงานต่างด้าว 17 จังหวัด พื้นที่เฝ้าระวังปกติ 47 จังหวัด ๕ ระดับ สี =แดง บานเย็น ส้ม เหลือง เทา

11 ลักษณะทางระบาดวิทยาและข้อบ่งชี้ประเด็น
การระบาดกระจายวงกว้างขึ้น กระจายจาก พื้นที่เดิมไปพื้นที่ใหม่ พบผู้ป่วยในช่วงเดือนแรกส่วนใหญ่เป็นวัยทำงานและผู้ใหญ่(รวมสูงอายุ) กลุ่มอายุในผู้ป่วยใน เดือน สิงหาคมเป็นต้นมามีกลุ่มอายุต่ำลง (ในเด็ก) แต่การติดเชื้อพบได้ทุกกลุ่มอายุ ลักษณะการถ่ายทอดโรค propagated pattern, close contact, intimate contacts และ การอยู่ในสถานที่เดียวกันกับผู้ป่วยหรือพาหะ Risk factors: Personal contact with cases or bacterial positive carrier, live in the same house, School outbreak/cluster, share same bus/van, others – unknowns (still many unclear). มีผู้ป่วยหลายรายในชุมชนที่ไม่สามารถระบุปัจจัยเสี่ยงได้ชัดเจน อาจแสดงว่ามีการระบาดในวงกว้างและอาจเกิดมาระยะหนึ่งแล้ว พื้นที่ที่พบผู้ป่วยและ พาหะที่พบเชื้อแล้ว คือพื้นที่การระบาด (indicated epidemic area) ประชากรในพื้นที่น่าจะถือได้ว่าเป็น population at Risk Vulnerable population or at risk อาจมีมาก เพราะความครอบคลุมวัคซีนไม่ชัดเจน หรือน่าจะต่ำ แนวโนม้การระบาด ยังจะเดินหน้าต่อไป และสถานการณ์อาจพบผู้ป่วยต่อเนื่องในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่ มีรายงานผู้ป่วย และ suspected cases หลายพื้นที่ที่ต้องการ การ verify โดยด่วน และการ ค้นหา source, identify possible contact (วง ๑และ วง ๒) ระดับความเสี่ยง ตาม Annex 2 (risk of spread Y, unusual unexpected Y, Trade N, Travel N) = moderate risk of IHR/PHEIC Complex epidemic, PUBLIC HEALTH EMERGENCY STATUS (Require National/Regional mobilization)


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google