ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง ความภูมิใจและก้าวต่อไปของการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย
2
โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน และแนวทางการแก้ไขปัญหา โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
3
อนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน
4
ที่มา: ทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง ธันวาคม 2552
จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชน ประชากรอายุ 10 – 24 ปี ร้อยละ 22 (14 ล้านคน) ของประชากรทั้งหมด ที่มา: ทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง ธันวาคม 2552
5
อายุเฉลี่ยเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
แหล่งข้อมูล อายุเฉลี่ย (ปี) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2539 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พ.ศ. 2545 เอแบคโพลล์ พ.ศ. 2547 อนามัยโพลล์ พ.ศ. 2552
6
อายุเฉลี่ยของนักเรียนชายเมื่อมีฝันเปียกครั้งแรก (ปี)
ระดับชั้นเรียน พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 มัธยมศึกษาปีที่ 2 9.8 11.8 มัธยมศึกษาปีที่ 5 13.4 13.1 นักเรียน ปวช.2 13.5 ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
7
อายุเฉลี่ยของนักเรียนหญิงเมื่อมีประจำเดือนครั้งแรก (ปี)
ระดับชั้นเรียน พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 มัธยมศึกษาปีที่ 2 11.8 12.5 มัธยมศึกษาปีที่ 5 12.6 12.7 นักเรียน ปวช.2 12.8 13.2 ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
8
ร้อยละของนักเรียนเคยมีเพศสัมพันธ์
พ.ศ. ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
9
สถานที่ที่นักเรียนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ร้อยละ ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
10
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ร้อยละ พ.ศ. ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
11
ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS)
ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับแฟนหรือคู่รัก ร้อยละ พ.ศ. ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
12
ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS)
ร้อยละของการคุมกำเนิดในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับแฟนหรือคู่รักของวัยรุ่น จำแนกตามเพศ และระดับการศึกษา ร้อยละ ที่มา: การเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (IBBS) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553 หมายเหตุ : วิธีคุมกำเนิดที่เชื่อถือได้คือ ถุงยางอนามัย ยาเม็ดคุมกำเนิด ฯ
13
ร้อยละของการคุมกำเนิดด้วยวิธีที่เชื่อถือได้
เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับแฟนหรือคู่รัก กลุ่มเป้าหมาย 2552 2553 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 60.3 45.0 65.3 55.6 2. นักเรียน ม.5 51.9 44.0 60.2 51.6 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 49.9 44.2 60.4 52.2 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553 หมายเหตุ: วิธีคุมกำเนิดที่เชื่อถือได้ คือ ถุงยางอนามัย ยาเม็ดคุมกำเนิด ฯ
14
ร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ 10-19 ปี พ.ศ. 2547-2553
ที่มาโดยการสนับสนุนข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข จัดทำข้อมูลโดย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (การคำนวณร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ ปี = จำนวนแม่คลอดบุตรในช่วงอายุนั้น x 100) จำนวนแม่คลอดบุตรทั้งหมด 14
15
อัตราการตั้งครรภ์ของหญิงอายุ 15-19 ปีต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน
ปี พ.ศ. การแท้ง ทุกประเภท การเกิด ไร้ชีพ หญิงคลอด 15-19 ปี รวมหญิงตั้งครรภ์ ปี หญิงอายุ ปี ทั้งหมด อัตรา : 1,000 2548 10,399 269 113,048 123,447 2,247,586 55.0 2549 11,149 370 112,509 123,658 2,265,800 54.7 2550 11,844 388 115,948 127,792 2,300,740 55.7 2551 11,788 337 118,921 130,709 2,329,702 56.3 2552 11,920 378 119,828 131,748 2,344,720 56.4 2553 11,734 401 120,012 132,147 2,356,637 56.1 ที่มา : 1. สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ อายุ ปี (การคลอด การเกิดไร้ชีพและการแท้ง) จากสำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ ข้อมูลการแท้งรวบรวมได้เฉพาะผู้ที่มารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น
16
อัตราการตั้งครรภ์ของหญิงอายุ 15-19 ปีต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน
ที่มา : 1. สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ อายุ ปี (การคลอด การเกิดไร้ชีพและการแท้ง) จากสำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ ข้อมูลการแท้งรวบรวมได้เฉพาะผู้ที่มารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น
17
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุ 19 ปี พ.ศ.2553
ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร นครพนม สกลนคร กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย น่าน พะเยา เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ตาก ลำพูน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย กำแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล นราธิวาส ยะลา ปัตตานี นนทบุรี กรุงเทพฯ ส.ปราการ ส.สงคราม ส.สาคร นครนายก ยโสธร อยุธยา ปทุมธานี นครสวรรค์ อุทัยธานี ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี บึงกาฬ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม สุพรรณบุรี นครปฐม อ่างทอง ชัยนาท การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อายุ 19 ปี พ.ศ.2553 มากกว่า 70.0 50.1 – 70.0 น้อยกว่า 50.0 อัตราต่อประชากรหญิง ปี 1,000 คน
18
ร้อยละของเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ในแม่วัยรุ่น
ปีงบประมาณ ร้อยละ หมายเหตุ 1. ข้อมูลเฉพาะเด็กเกิดมีชีพในโรงพยาบาลของรัฐ ที่รายงานมายังสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2. วิเคราะห์และรายงานโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย
19
มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา
การทำแท้งในวัยรุ่น ร้อยละ 24.7 มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 29.9 อายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 61.3 อายุต่ำกว่า 25 ปี ที่มา :กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 2542
20
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 15-24 ปี
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2553
21
สาเหตุที่วัยรุ่นไม่คุมกำเนิด
ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษาและชีววิทยาการเจริญพันธุ์ (ไม่รู้ว่าจะตั้งครรภ์เมื่อใด) มีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ กับการตั้งครรภ์ (ร่วมเพศครั้งเดียวไม่ท้อง) วัยรุ่นชายไม่ใช้ถุงยางอนามัย (ขัดขวางความรู้สึกทางเพศ) การบริการคุมกำเนิดยังเป็นบริการของคู่สมรส หรือผู้ ที่แต่งงานแล้ว (วัยรุ่นไม่กล้าเพราะการมีเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ต้องปกปิด) แหล่งข้อมูล: การศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์และมีบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 (เขตสาธารณสุข เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์และจังหวัดตาก)
22
สิ่งที่วัยรุ่นและเยาวชนกำลังเผชิญ...
เพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน เพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การทำแท้ง ค่านิยมในการล่าแต้ม การเปลี่ยนคู่นอน ล่วงละเมิดทางเพศ และถูกกระทำรุนแรง เพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. กามโรค/เอดส์ 22 22 22 22
23
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน
(การตั้งครรภ์ไม่พร้อม)
24
แนวคิดการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลลัพธ์ พฤติกรรม แนวทางแก้ไข การชะลอการมีเพศสัมพันธ์ (Delay Sex) การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ( Safe Sex) การลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(Planned Pregnancy) * มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ * รู้คุณค่าในตนเอง/ ให้เกียรติสตรี * ใช้วิธีคุมกำเนิด อย่างเหมาะสม * ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ * ใช้บริการการ ให้คำปรึกษา * ใช้บริการวางแผนครอบครัว * แท้งที่ปลอดภัย 1. สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียน เพศศึกษาอย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล 3. ครอบครัว/ชุมชน - จัดทำแผนบูรณาการระดับ จังหวัด/อปท. - สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัย การเจริญพันธุ์ - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ - พัฒนาคู่มือ อสม. - พัฒนาสื่อมวลชน
25
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์
นโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ครม เห็นชอบ เมื่อ 14 กย 53 กรอบและทิศทาง การดำเนินงาน 2) (ร่าง) พ.ร.บ. คุ้มครองอนามัย การเจริญพันธุ์แห่งชาติ ครม. อนุมัติหลักการ เมื่อ 14 ธค. 53 การคุ้มครองสิทธิด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ 3) สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ การระดมความคิดเห็น ของทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันแก้ไข ในประเด็นปัญหาที่เร่งด่วน
26
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ
นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ ) 14 กันยายน 2553
27
ให้รุ่งเรืองมั่งคั่ง และมั่นคงสืบไป
นโยบายการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ ) รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้การเกิดทุกรายเป็นที่ปรารถนา ปลอดภัย และมีคุณภาพ ด้วยการส่งเสริมให้คนทุกเพศทุกวัย มีอนามัยการเจริญพันธุ์ โดยยึดหลักความสมัครใจ เสมอภาค และทั่วถึง เพื่อเป็นพลังประชากร สร้างประเทศ ให้รุ่งเรืองมั่งคั่ง และมั่นคงสืบไป นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง นโยบายด้านอาหารและโภชนาการของไทย คำนึงถึงการป้องกันปัญหาโรคอ้วนมากขึ้น แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ ๑๐ ที่กำหนดให้มีนโยบายในการจัดการป้องกันและควบคุมปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นส่วนหนึ่งในแผนงานส่งเสริมสุขภาวะป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปีพ.ศ. ๒๕๕๐-๕๑ กรมอนามัยร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องร่วมกันดำเนินโครงการคนไทยไร้พุง โดยมีแนวคิดหลัก ๓ อ. มาตรการโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กปลอดน้ำอัดลม ส่งเสริมการผลิต/จำหน่ายอาหารที่ลดปริมาณน้ำตาล ไขมัน โซเดียมลงร้อยละ ๒๕ และการควบคุมโฆษณาขนมเด็ก
28
ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์
การเสริมสร้างครอบครัวใหม่ และ เด็กรุ่นใหม่ให้เข้มแข็ง และมีคุณภาพ การเสริมสร้างให้คนไทยทุกเพศ ทุกวัย มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศที่เหมาะสม การพัฒนาระบบบริการอนามัย การเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ ที่มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ
29
ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนาระบบบริการจัดการงานอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพ ทางเพศแบบบูรณาการ การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบเกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ การพัฒนา และการจัดการองค์ความรู้ เทคโนโลยีอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ 29
30
ยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์
ครอบครัวเข้มแข็ง สุขภาวะทางเพศ บริหารจัดการความรู้ - สอนเพศศึกษา ฐานข้อมูล การเฝ้าระวัง/วิจัย/KM ยุทธศาสตร์ บริการอนามัยการเจริญพันธุ์ กฎหมาย กฎ ระเบียบ บริหารจัดการ YFHS Clinic RH Clinic Pre-marital councelling Clinic - ร่าง พ.ร.บ. RH แผนบูรณาการ RH (SRM, SLM)
31
วัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต
สถานศึกษา โรงเรียน อพ (ใน รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) สอนเพศศึกษารอบด้าน มุมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรม อพ. สถานบริการสาธารณสุข คลินิกวัยรุ่น - ให้ความรู้ - ให้คำปรึกษา - ให้บริการสุขภาพ เชิงรุก / ส่งต่อ เฝ้าระวังแท้ง จังหวัด / ชุมชน / ครอบครัว แผนยุทธศาสตร์บูรณาการอนามัยการเจริญพันธุ์ คณะอนุกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด เสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็ง สภาเด็กและเยาวชน/เด็กไทยทำได้/To be # 1/GO/NGO/อสม. อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น สัดส่วนแม่อายุน้อยกว่า 20 ปี ที่คลอดบุตร อัตราการตั้งครรภ์ของหญิงอายุ ปี ต่อประชากรหญิง ปี 1,000 คน ชะลอเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ปลอดภัย การวางแผนตั้งครรภ์
32
การจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น
การขับเคลื่อนการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น ของ กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทาง เพศ ระดับจังหวัด การจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบการเฝ้าระวังเรื่องการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เฝ้าระวังการทำแท้ง และการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียน ปีละ ครั้ง ผลักดันร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ ดำเนินงานตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๓
33
ผลการดำเนินงาน
34
ยังไม่ดำเนินการ(จังหวัด)
ผลการดำเนินงาน โครงการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น กิจกรรม ปี 2552 (จังหวัด) ปี 2553 ปี 2554 ยังไม่ดำเนินการ(จังหวัด) การจัดทำ แผนยุทธศาสตร์(N=76) 3 22 61 36 15 มีคณะอนุกรรมการ/ คณะทำงาน RH หรือบูรณาการเข้ากับคณะกรรมการอื่นๆ(N=76) 1 6 69 62 7 กิจกรรม ได้ (จังหวัด) กำลังดำเนินการ ไม่ได้ การนำแผนปฏิบัติการ ไปดำเนินการได้จริง(N=61) 49 4 8
35
เป้าหมายและผลงาน เป้าหมายเชิงปริมาณ 2552 2553 2554 2555 รวม
เป้าหมายเชิงปริมาณ 2552 2553 2554 2555 รวม (เป้าหมาย) จำนวนจังหวัด 3 10 36 27 76 (ผลงาน) จำนวนจังหวัด 18 43 64 (ผลงาน) จำนวนรพ.ทีมี YFHS 30 186 447 663 (ผลงาน) % รพ.ที่มี YFHS 3.6 22.3 53.59 100.00 (ผลงานสะสม) % สะสม รพ. ที่มี YFHS 25.9 79.49 จำนวนบุคลากรผู้ให้บริการ 173 827 1206 2206 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 2556 2557 2558 (เป้าหมาย) % รพ.ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 50 80 100 รางวัลผลงานเด่นระดับประเทศ Youth Friendly Health Services Clinic Award ต่อจังหวัด ต่อ จังหวัด * ข้อมูล ณ 10 ต.ค.2554
36
โครงการขับเคลื่อนการป้องกันโรคเอดส์ในสถานศึกษา
กรมควบคุมโรค โครงการขับเคลื่อนการป้องกันโรคเอดส์ในสถานศึกษา พัฒนาเครือข่ายเรื่องการจัดการเรียนการสอน พัฒนาระบบบริการป้องกันทางเพศและดูแลเรื่องเอดส์ เพิ่มการเข้าถึงการใช้ถุงยางอนามัยของเยาวชน กรมสุขภาพจิต พัฒนาระบบบริการสายด่วนให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ของวัยรุ่น
37
พัฒนางานศูนย์พึ่งได้ของรพศ./รพท. และขยายบริการสู่ รพช.
สำนักบริการการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พัฒนางานศูนย์พึ่งได้ของรพศ./รพท. และขยายบริการสู่ รพช. บูรณาการงานศูนย์พึ่งได้กับการดำเนินงานคุ้มครองเด็กตาม พรบ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 และ พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงใน ครอบครัว พ.ศ.2550 พัฒนาแนวทางปฏิบัติในการตรวจ วินิจฉัยทางด้านนิติเวชศาสตร์ เพื่อให้ ความช่วยเหลือทางด้านคดี พัฒนารูปแบบการให้คำปรึกษาทางเลือกเพื่อช่วยเหลือวัยรุ่นและผู้หญิงที่ ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในโรงพยาบาลนำร่อง 5 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี ขอนแก่น อยุธยา นครสวรรค์ ศรีสะเกษ
38
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.