งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554
ทบทวนประเด็นสำคัญ ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554

2 รายการยาที่มีความเสี่ยงสูง
1. Adrenaline 1 mg/ml Inj 2. Calcium Gluconate inj. 3. Digoxin Inj 4. Dopamine Inj 5. Potassium Chloride Inj 6. Magnesium 10% Inj,50% Inj 7. Morphine Inj 8. Pethidine Inj. 9. Amiodarone Inj 10. Diltiazem Inj 11. Terbutaline Inj

3 Adrenaline (C) Adrenaline Injection (1mg/1ml) = (1:1000)
กระตุ้นจุดรับ กระตุ้น alpha,beta-1,beta-2 adrenergic receptors เพิ่มทั้งความดันโลหิตค่าบนและ ค่าล่าง เพิ่มความแรงในการหดตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจ เพื่อเลือดไปเลี้ยง หัวใจ และสมองมากขึ้น

4 Monitor & Consult ชีพจร > 120 ครั้ง/นาที
SBP > 160 mmHg.หรือ DBP น้อยกว่า 90 mmHg. หากผู้ป่วยเกิดปวดศีรษะ ผู้ป่วยอาจมีแรงดันโลหิตสูงเนื่องจาก ได้รับยามากเกินไป

5 Calcium Gluconate (C) ใช้เพื่อเพิ่มแคลเซียมในพลาสมาทันที เช่น neonatal tetany หรือเกร็ง กระตุกจากภาวะพร่อง parathyroid hormone วิตามินดี และเลือดเป็น ด่าง ใช้ภายหลัง Open heart surgery เพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อ หัวใจ หรือใช้เสริมการรักษา มีฤทธิ์ช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจและเพิ่มจังหวะการ เต้นของหัวใจ

6 Monitor & Consult Monitor EKG ระหว่างฉีดยา ตลอดเวลาที่ push จน หมด (ภายใน 10นาที)… Arrhythmias , Bradycadias ถ้า heart rate < 60 ครั้ง/นาที ให้หยุดยาทันทีแล้ว รายงานแพทย์ ถ้ารั่วออกนอกเส้นเลือด (Extravasation) ให้หยุดยาทันที และรายงานแพทย์ Hypotension

7 Digoxin (C) ยับยั้งการแลกเปลี่ยนของ Na+ และ K+ ที่ผนังเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ทำ ให้ความเข้มข้นของNa+ และ K+ ที่ ผนังเซลล์เพิ่มขึ้น ระดับ K+ ภายใน เซลล์ลดลง ทำ ให้การบีบตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจเพิ่มขึ้น ลดความเร็วในการนำ ไฟฟ้าที่ A-V node ลดลง ลดอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที ลดอัตราการเต้นของหัวใจ

8 Monitor & Consult ดูการเต้นของหัวใจ ถ้ายังเร็วมากแสดงว่ายาอาจจะยังออกฤทธิ์ ไม่เพียงพอ ถ้าช้ามาก แสดงถึงอาการเป็นพิษของยา , สอบถาม อาการคลื่นไส้อาเจียน ที่บ่งถึงความเป็นพิษของยาที่พบได้บ่อย ที่สุด ผู้ใหญ่ PR ≤ 60 หรือ ≥ 100 ครั้ง/นาที เด็ก PR ≤ 70 หรือ ≥ 100 ครั้ง/นาที (กรณีฉีดเข้า IV ต้อง Monitor EKG ) ผู้ป่วยคลื่นไส้ อาเจียนมาก,การมองเห็นผิดปกติ (อาการพิษของ Digoxin)

9 Dopamine (C) Dopamine เป็นยาที่ใช้ร่วมใน การรักษาภาวะช็อค (เช่น MI, open heart surgery, renal failure, cardiacdecompensation) ใช้รักษาภาวะ bradycardia หรือ heart block ที่รักษาด้วย atropine หรือ pacing ไม่ได้ผล

10 Monitor & Consult 1. ชีพจรเร็วกว่า 120 ครั้ง/นาที
1. ชีพจรเร็วกว่า 120 ครั้ง/นาที 2. ความดันโลหิตสูง >160/90 3. urine outputปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 cc./kg./ชั่วโมงทุก 4 ชม 4. EKG,Arrhythmias 5. อาการซีด ขาว,Peripheral ischemia 6. บ่นปวดชาปวดร้อนบริเวณฉีด , Extravasation

11 KCl (A) เพิ่มความเข้มข้นในเซลล์ โปแตสเซียมมีผลต่อเซลล์ใน เส้นประสาท หัวใจ และ กล้ามเนื้อ

12 Monitor & Consult หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันลดต่ำลง
HR < 60 หรือ > 120 ครั้ง/นาที SBP (< 90 mmHg.) ทุก 4 ชม. สอบถามการเจ็บที่หลอดเลือด เนื่องจากการผสม เข้มข้นมาก อาจระคายเคืองหลอดเลือด ถ้ามี sign ของ Oligurea (Urine output< 400ml in 24 hours)ให้ stop infusion และ รายงานแพทย์ทันที อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง

13 Magnesium Sulfate (B)

14 Monitor & Consult รักษาอาการชักที่เกิดจาก toxemia of pregnancy, epilepsy หรือมี ระดับของmagnesium ต่ำ ซึ่งมีส่วนทา ให้เกิดอาการชัก เช่น ภาวะ hypothyroidism ,glomerulonephritis ในผู้ป่วย eclampsia ในผู้ป่วยเด็กที่มี acute nephritis เพื่อควบคุม ความดันโลหิตสูง encephalopathy และอาการชัก

15 Monitor & Consult Deep tendon reflex (knee jerk) ลดลง
Urine Output ถ้า < 30 cc/hr หรือ Urine Output เก็บใน 4 hrs. < 100 cc. ให้รายงาน แพทย์ อัตราการหายใจ < 16 ครั้ง/min. BP ≥ 160/100 mmHg หรือ ≤ 90/60 mmHg

16 Morphine ( B ; D ถ้าใช้ขนาดสูง )
บรรเทาอาการปวดชนิดปานกลาง รุนแรง รักษาภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายวาย เฉียบพลัน (Myocardial Infarction) โดยลดแรงดัน preload Preanesthetic medication ห้ามฉีดเข้าช่องไขสันหลัง หรือช่อง รอบเยื่อบุไขสันหลัง (not for intrathecal or epidural use)

17 Monitor & Consult การหายใจ ถ้า < 16 ครั้ง/นาที RR (5x3) then (15X3)
BP < 90/60 mmHg BP (5x3) then (15X3) ง่วง หมดสติ หลับปลุกไม่ตื่น ม่านตาหรี่

18 Pethidine ( B ; D ถ้าใช้ขนาดสูง)
บรรเทาอาการปวดชนิดปาน กลาง- รุนแรง ใช้ร่วมกับยาระงับความรู้สึกเพื่อ การผ่าตัดหรือการทาหัตถการที่ ก่อให้เกิดความปวด

19 Monitor & Consult การหายใจ ถ้า < 16 ครั้ง/นาที RR (5x3) then (15X3)
BP < 90/60 mmHg , BP (5x3) then (15X3) ง่วง หมดสติ หลับปลุกไม่ตื่น ม่านตาหรี่

20 Amiodarone ( C / enter breast milk,not recommend )
Atrial และ Ventricular tachyarrythymia Rapid atrial arrythymia

21 Monitor & Consult EKG…..BP < 90/60 mmHg
HR < 60 BMP จนกระทั่ง BP,RR คงที่ จากนั้นติดตามทุก ชั่วโมง

22 Diltiazem (C) การเต้นของหัวใจเร็วผิดปกติ
ภาวะฉุกเฉิน จากความดันโลหิต สูงผิดปกติ ยับยั้ง calcium channels บริเวณหลอดเลือด และ กล้ามเนื้อหัว ทำให้กล้ามเนื้อเรียบที่หลอด เลือด coronary คลายตัว เพิ่มการขนส่ง oxygen ไปยัง หัวใจในผู้ป่วย vasospastic angina

23 Monitor & Consult Hypotension (BP < 90/60 mmHg) Bradycadia

24 Terbutaline ( B) IV infusion ให้นานอย่าง น้อย 12 ชั่วโมง และติดตามการ หยุดบีบตัวของมดลูก การปรับขนาดยาต้องทำอย่าง ระมัดระวัง ปรับตามการ ตอบสนองต่อการบีบตัวของ มดลูก ความดันโลหิตของแม่ อัตราการเต้นของหัวใจของแม่ และเด็ก

25 Monitor & Consult ประเมิน Contraction, FHS, BP< 90/60 mmHg , Pulse>120 ครั้ง/นาที, การหายใจ ทุก 30 นาที จน no contraction ใน 10 นาที อย่างน้อย 2 ชั่วโมง หลังจากนั้น ทุก 1, 2-4 ชั่วโมง ตามสภาพหญิงตั้งครรภ

26 High Alert Drugs ยาเอ๋ยยา เจ้ายา ความเสี่ยงสูง รวมทั้งฝูง นั้นมี สิบเอ็ดตัว ตัวแรกคือ เจ้าอะดี นารี่ ระวังB Pไว้ อย่าให้สูง ตัวที่สอง นั้นคือ แคลเซี่ยมกลู EKดู ให้เจ้ารู้ เรื่องBrady ตัวที่สาม ตามมาไว ไดจอกซี่ ใจให้ดี อย่าดิ้นช้า หรือเร็วไป สี่นั้นคือ ท่านโดป้า อย่าไว้ใจ อย่าให้ไฮ ทั้งPulse และBP ตัวที่ห้า นั้นคือ เจ้าเคซี Push IV ชีวี จะสิ้นคิด หัวใจเจ้า จะรัว จนเต้นผิด ด้วยเพราะพิษ ความดันต่ำ ย้ำอีกที ตัวที่หก ตกไม่ได้ คือแมกนี่ BPดี Jerk knee อย่าลงรี่ คู่แฝดคือ มอร์ฟีน และเพร็ตตี่ ม่านตารี่ BPต่ำ ย้ำหายใจ อีกคู่คือ อะมิโอ และดิวที่ เฝ้าBrady BPไว้ อย่าได้ต่ำ สุดท้ายคือ เทอร์บู ต้องเน้นย้ำ ให้ดูซ้ำ Contact แลHeart Sound ความเสี่ยงสูง ทุกตัว เจ้าต้องเฝ้า จะลดเศร้า แบ่งเบาทุกข์ มีสุขเอย เจ้าชายเภสัช ประพันธ์


ดาวน์โหลด ppt ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google