งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558
กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558

2 ทิศทางที่ รมว.สธ.ให้ไว้เมื่อวันที่ 6 พย.2556

3

4 หลักการจัดทำงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558
สอดคล้องกับนโยบายของทุกระดับ เป็นเอกภาพ เป็นแผนงบประมาณร่วมของทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข งบประมาณแต่ละกรม ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของกรมนั้น สามารถตอบสนองตัวชี้วัดด้านสุขภาพ ส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนตามเป้าประสงค์ที่กำหนด

5 ข้อเสนอนโยบายจัดทำงบประมาณของ กสธ. ปี 2558
นโยบายเน้นหนัก สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตลอดช่วงวัย เน้นการสร้าง Health Mindset ส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุและพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ (Healthy & Active life for Thai Elderly) เพิ่มความสามารถในการเข้าถึงบริการสุขภาพในทุกกลุ่มประชากรบนผืนแผ่นดินไทย ยกระดับคุณภาพบริการตาม Service Plan : Excellent Center , Referral System , Medical Hub ส่งเสริมความร่วมมือและบริหารทรัพยากรร่วมระหว่างรัฐและเอกชน พัฒนาการแพทย์แผนไทย สมุนไพรไทยเพื่อการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ

6 การวิเคราะห์และจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ระดับต่าง ๆ
แผนฯ ฉบับที่ 11 1 ภาคีสุขภาพ การพึงพาตนเองบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย 2 เฝ้าระวัง เตือนภัยและจัดการภัยพิบัติ ภัยสุขภาพ 3 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค 4 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระบบส่งต่อ 5 กลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และบริหารจัดการทรัพยากร ยุทธศาสตร์ประเทศ 1 สร้างความสามารถในการแข่งขัน 2 สร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม 3 เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหาร นโยบายอาเซียน 1. เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2. พัฒนาคุณภาพชีวิต 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8. เพิ่มศักยภาพของเมือง นโยบายรัฐบาล 1 นโยบายเร่งด่วน (ยาเสพติด ภาคใต้ ประเทศเพื่อนบ้าน ระบบประกันสุขภาพ) 2 นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต (พัฒนาคุณภาพระบบหลักประกัน โครงสร้างพื้นฐาน พฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์กลางสุขภาพ) นโยบาย รมว./ปลัด 4 ด้าน (การปฏิรูป , ระบบบริการ , การเงินการคลังกฎหมาย, การบริหารจัดการ) 26 ประเด็น นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ระดับต่าง ๆ วิเคราะห์ GAP Analysis สังเคราะห์ / กำหนดทิศทาง การพัฒนา / กำหนดมาตรฐาน Evidence-Based Health Problem Need & Demand กรมวิชาการ/สำนัก ใน/นอก กสธ. นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ภาคส่วนต่าง ๆ National Health/MoPH Strategic Issues

7 การวิเคราะห์และจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
กรมวิชาการ/สำนัก ใน/นอก กสธ. National Health/MoPH Strategic Issues นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ภาคส่วนต่าง ๆ Growth & Competitiveness Inclusive Growth Never before Better Participation Eff. Investment in Med. Technology (Mega Project) Standard Quality Efficiency Good Governance คุณภาพชีวิต ประโยชน์ของประชาชน บูรณาการทุกภาคส่วน ความยั่งยืนของระบบ ประจำ/ต่อเนื่อง Policy Level MoPH Budgetary Policies MoPH Budgetary Strategies นโยบายเน้นหนัก KPI , Timeline

8 ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ ปี 2558
Situation พัฒนาสุขภาพตลอดช่วงชีวิตทุกกลุ่มวัย อัตรามารดาตายเป็น ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน ในพ.ศ MDGs ที่กำหนดให้ เหลือ 13 ต่อการเกิดมีชีพ100,000 คน ในพ.ศ. 2558 พัฒนาการเด็กและเชาวน์ปัญญาเด็กไทยต่ำกว่ามาตรฐานสากล เด็กที่มีIQ<70 มี 6.5%(ไม่ควรเกิน2%) พ.ศ ไทยมีผู้สูงอายุ 9,517,000 คิดเป็น 14.7%ของประชากรและคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เป็น 25.1% ในพ.ศ. 2573 พัฒนาและจัดระบบบริการ ความครอบคลุมและการเข้าถึงบริการ ระบบบริการไม่สอดคล้องกับทรัพยากร อีกทั้งข้อจำกัดทางการเงิน ภาวะเศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การฟ้องร้องของผู้รับบริการ ผู้สูงอายุมากขึ้น การเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย มีผู้ป่วยอุบัติเหตุน้อยกว่าร้อยละ 80 สร้างความยั่งยืนของระบบบริการสุขภาพระยะยาว หน่วยบริการประสบปัญหาทางการเงินอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปี 56 ที่มีนโยบายควบคุมค่าเหมาจ่ายรายหัวในระบบหลักประกันสุขภาพให้คงที่ 3ปี ปัญหาด้านกำลังคน จำนวนที่ไม่เพียงพอและการกระจายบุคลากรที่ไม่เหมาะสม ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยได้มาตรฐาน 14% - >14% 2 เขต (6,7) <10% 10 เขต

9 ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตลอดช่วงชีวิตทุกกลุ่มวัย
แม่ ฝากท้องคุณภาพ ทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ เด็ก 0-5 ปี พัฒนา EQ IQ Healthy -น้ำแม่ (สนับสนุนถุงเก็บน้ำนมแม่/ระบบจัดส่งนมแม่) 5-14 ปี 15-21 ปี ยาเสพติด บุหรี่ สุรา มีความรู้เรื่องเพศ ศึกษา/ทักษะชีวิต วัยทำงาน ปี ลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อ (NCD) อุบัติ เหตุ GHSH ผู้สูง อายุ เพิ่มคุณภาพชีวิต ผู้พิการ พัฒนาคุณภาพชีวิต คุ้มครองผู้ บริโภค อาหาร ยา ผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพ อาหารปลอดภัย และ อาหาร ฮาลาล สิ่งแวดล้อม แก้ ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม การป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ SRRT, DMAT, MERT, MCAT

10 ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ ที่ 2
พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ+ระบบบริหารจัดการ การเข้าถึงบริการ 3 กองทุน National Data clearing house EMCO Harmonize Basic Benefit Package กลุ่มที่ไม่มีหลักประกัน แรงงานต่างด้าว Stateless (คนไร้รัฐ) เขต กทม./เมือง เพิ่มการเข้าถึงบริการให้กับประชาชนในเขตเมือง/กทม. ขยายความครอบคลุม พรบ. บุคคลที่ 3 กองทุน อปท. Border Health/ภาคใต้ คุณภาพบริการ Service plan พัฒนาคุณภาพบริการ 10 ++ Tracks พัฒนาระบบส่งต่อ มาตรฐานสถานบริการ OPD Zero การบริหารจัดการ การปฏิรูป moph NHA, NHIA, NHDA, NHFA, NHRA, etc. เขตเครือข่ายบริการสุขภาพ พัฒนากลไกการบริหารจัดการ DHS พัฒนาเครื่องมือและบุคลากร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

11 ด้านการคลัง ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ ที่ 3
ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ ที่ 3 สร้างความยั่งยืนของระบบบริการสุขภาพระยะยาว ด้านการคลัง Medical Hub ยกระดับคุณภาพบริการสุขภาพภาครัฐ Medical Tourism สร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยว PPP ส่งเสริมความร่วมมือภาครัฐและเอกชน การบริหารทรัพยากรร่วมภาครัฐและเอกชน เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากร (คน เงิน ของ) เพิ่มมาตรการจูงใจการใช้ยาชื่อสามัญ (generic drugs) ส่งเสริมการใช้ยา วัสดุการแพทย์ และวัสดุชันสูตรอย่างสมเหตุผล ผลิตและพัฒนาบุคลากร การพึ่งตนเองด้านสาธารณสุข ยา วัคซีนและเวชภัณฑ์ ส่งเสริมการผลิตยา วัคซีนและเวชภัณฑ์ เพื่อทดแทนการนำเข้า สมุนไพร ส่งเสริมการใช้ยา และผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย แพทย์แผนไทย ยกระดับบริการทางการแพทย์แผนไทยให้เป็นสินค้าสุขภาพ เน้นการพัฒนาภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยเพื่อการพึ่งตนเอง

12 MoPH Budgetary Strategies Map
GOAL : - Life Expectancy ไม่น้อยกว่า 80 ปี - HALE ไม่น้อยกว่า 72 ปี Health Promotion & Prevention Health Services เพิ่มคุณภาพ ชีวิต ความยั่งยืนของระบบ Health Security ย.1 พัฒนาสุขภาพตลอดช่วงชีวิตทุกกลุ่มวัย ย.2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ+ระบบบริหารจัดการ ย.3 สร้างความยั่งยืนของระบบบริการสุขภาพระยะยาว

13 โครงสร้างงบประมาณ ปี 2558 ยุทธศาสตร์กระทรวง ปี 2558 รายจ่ายประจำ
ภารกิจ พื้นฐาน ยุทธศาสตร์กระทรวง ปี 2558 ขั้นต่ำ ส่วนกลาง 1. พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ผูกพัน ส่วนภูมิภาค (สสจ./สสอ.) 2. พัฒนาและจัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าบริการได้ 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อการสนับสนุนการจัดบริการ 4. เร่งรัดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 5. พัฒนาระบบบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 6. ส่งเสริมและพัฒนาการเป็นศูนย์กลางบริการด้านสุขภาพ 7. พัฒนาระบบประกันสุขภาพให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 8. เสริมสร้างระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน บำบัด รักษาและฟื้นฟูสภาพของประชาชน ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดให้มีประสิทธิภาพ

14 ปฏิทินงบประมาณของ กสธ. ปี 2558
การทบทวนงบประมาณ ยุทธศาสตร์กระทรวง/หน่วยงาน (กย.-ตค. 56) กำหนดแนวทาง (28 ตค. 56) หารือประเด็นนโยบายกับภาคส่วนต่าง ๆ (wk 1 พย.56) เห็นชอบยุทธฯ งบ 58 (8 พย.56) สงป. พบผู้บริหาร สธ. รับทราบนโยบาย (wk 3-4 พย.56) ทบทวนผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัด (wk 2-3 พย.56) จัดทำรายจ่ายขั้นต่ำ (พย.-ธค.56) วางแผน/ การจัดทำ งปม.

15 ปฏิทินงบประมาณของ กสธ. ปี 2558
การวางแผน/การจัดทำงบประมาณ จัดทำแผนความต้องการงบลงทุน (ตค.-15 พย.56) ชี้แจง (defend ระดับ กสธ.) แผนคำของบลงทุน (20-22 พย.56) ส่ง แผนความต้องการงบลงทุน (29 พ.ย. 56) จัดทำแผนคำของบประมาณ 2558 (ธค.56-มค.57) ชี้แจง (defend ระดับ กสธ.) คำของบ 58 (wk 3-4 มค.57) ส่งคำของบประมาณปี พ.ศ. 58 (3 ก.พ. 57) ปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณ (10 เม.ย.57) การอนุมัติ งปม.

16 ปฏิทินงบประมาณของ กสธ. ปี 2558 งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558
การอนุมัติงบประมาณ วาระที่ 1 (28-29 พค.57) คณะกรรมาธิการวิสามัญ/คณะอนุกรรมาธิการ (มิย.-10 สค.57) วาระที่ 2-3 (13-14 สค.57) วุฒิสภา (1 กย.57) งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2558


ดาวน์โหลด ppt กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google