ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
Teenage Pregnancy เขตตรวจราชการที่ ๕ ( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
2
หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5
หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10
3
หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร ปี 2552(ตค.51-เมย.52)
ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 10
4
วัตถุประสงค์การประเมิน
เพื่อทราบกระบวนการจัดทำแผนเพื่อแก้ไข ปัญหาในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม เพื่อติดตามการบูรณาการดำเนินงานร่วมกัน ของระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการแผน งบประมาณ และกำลังคน เพื่อทราบถึงความก้าวหน้า ความสำเร็จของการ ปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายที่กำหนดไว้เพียงใด เพื่อพัฒนา ปรับปรุงงานให้มีการแก้ไขปัญหาได้ ตรงประเด็น
5
กรอบการประเมินผลโครงการ
ประเมินด้านบริบท เพื่อกำหนดความเป็นไปได้ ของโครงการ ความชัดเจน เหมาะสม และความ สอดคล้องกับนโยบาย ประเมินปัจจัยป้อน เพื่อพิจารณาความพอเพียง ของทรัพยากร งบประมาณ บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เวลา เทคโนโลยี ประเมินกระบวนการ เพื่อหาข้อบกพร่อง และแก้ไข ปรับปรุง ประเมินผลผลิต เพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิด ขึ้นกับวัตถุประสงค์
6
ผลการประเมิน ด้านบริบท : ทุกจังหวัดเห็นว่าควรเร่งรัด
ด้านบริบท : ทุกจังหวัดเห็นว่าควรเร่งรัด ดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาเรื่อง แม่วัยรุ่น โครงการมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ปัจจุบัน ครบองค์ประกอบของการจัดลำดับความสำคัญ ทั้ง 4 S ได้แก่ Size Severerity Social concern และ Solution การดำเนินงานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
7
ด้านปัจจัยนำเข้า : ทรัพยากร บุคลากร วัสดุ
ด้านปัจจัยนำเข้า : ทรัพยากร บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ปัญหาเด็กและเยาวชนยังไม่ถูกกำหนด เป็นประเด็นยุทธฯในแผนของจังหวัดจึงไม่มี แผนงาน/โครงการ ครอบคลุมทุกมิติ สัดส่วนการกระจายงบประมาณเพื่อการแก้ไข ปัญหามีปริมาณน้อย ทั้งที่เป็นปัญหาของพื้นที่ บุคลากรน้อย ภาระงานมาก ขาดการพัฒนา ทักษะเป็นวิทยากรระดับจังหวัด การสำรวจข้อมูลยังมีน้อย กำลังเริ่มพัฒนา ฐานข้อมูล
8
ด้านกระบวนการ การวิเคราะห์สภาพปัญหา และการดำเนินงาน ที่ผ่านมา
กระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหา จังหวัดใช้เกณฑ์ : นโยบาย ขนาด ความรุนแรง ผลกระทบ ความยากง่าย ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์องค์กร : SWOT/ PEST / McKinsey 7 S Framework
9
มาตรการที่พื้นที่ดำเนินการในปัจจุบัน
อบรมให้ความรู้แก่แกนนำ ไม่แยก กลุ่มเสี่ยงและไม่เสี่ยง การให้คำปรึกษาในคลินิค ANC มุมเพื่อนใจวัยรุ่น
10
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เสี่ยงต่อปัญหา
พบกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน นักศึกษามากที่สุด แต่ยัง ไม่มีข้อมูลรายละเอียดที่สำคัญอื่นๆ เช่น สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เสี่ยงต่อปัญหา ความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนต่อสถานการณ์ และการแก้ปัญหา การให้บริการ การเข้าถึงบริการในพื้นที่ และ เครือข่าย ข้อมูลในแต่ละพื้นที่/ชุมชนที่มีความแตกต่าง หลักสูตร/ สื่อ / ช่องทางต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อวัยรุ่น
11
2. การวางแผนแก้ปัญหา และกระบวนการ
จัดทำแผนงาน/ โครงการ ในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ( ยังไม่ครอบคลุม) ไม่มี การบูรณาการที่ชัดเจน กลุ่มเป้าหมายไม่มีการวิเคราะห์เชิงลึก ไม่ชัดเจนจึงทำให้การแก้ปัญหาไม่ตรงประเด็น การแก้ปัญหาในปัจจุบันใช้การอบรม ให้ความรู้ในสถานศึกษา
12
3. การนำแผนสู่การปฏิบัติ
มีการประชุมหน่วยงานย่อยที่เป็นพื้นที่ นำร่อง ร่วมวางแผนแก้ปัญหา ขาดข้อมูลที่สำคัญในการวางแผน กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี ทุกระดับยังไม่ สอดรับกัน พื้นที่ยังไม่ทราบมาตรการที่ สำคัญ(Core Intervention)
13
ด้านผลผลิต ผลงานเชิงปริมาณ และความก้าวหน้า ของงานน้อย
ผลงานเชิงคุณภาพที่ดำเนินการไป แล้วตามขั้นตอนต่างๆยังไม่เห็น ความแตกต่างตามนโยบายของ การบูรณาการเชิงรุก
14
ปัญหา จังหวัด อำเภอ ตำบล ยังไม่บูรณาการงาน เพื่อแก้ปัญหา
มาตรการหลัก (Core Intervention) ที่ใช้ อยู่ยังไม่สมารถแก้ปัญหาได้จริง การวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่พอเพียงที่จะใช้ ตัดสินใจในการวางแผนงาน
15
ข้อเสนอแนะ ควรศึกษาข้อมูล เชิงลึกของวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงใน
Setting ต่างๆ แล้วนำมาพิจารณาร่วมกับ กระบวนการจัดทำแผนแก้ปัญหาตามบริบท ของพื้นที่ อบรมบุคลากรให้เข้าใจและสามารถจัดทำแผน บูรณาการเชิงรุกได้ พัฒนาหลักสูตรที่ใช้อบรมให้ความรู้วัยรุ่นที่ได้ มาตรฐาน คัดสรรวิทยากรที่มีความเหมาะสม จูงใจ และเป็นมิตรกับวัยรุ่น ประเมินผลเพื่อทราบจุดอ่อน จุดแข็งที่ต้อง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.