ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
PATCHARAPORN INRIRAI ID. 53402618
Carbon footprint and Water footprint PATCHARAPORN INRIRAI ID ET 694 Solar Energy
2
Outline Carbon Footprint Water Footprint ความเป็นมา
ฉลากคาร์บอน ประโยชน์ Water Footprint การวิเคราะห์ Water footprint Nation water footprint การนำเสนอในวันนี้ประกอบไปด้วย Carbon footprint โดยจะนำเสนอถึง ความเป็นมา มาตรฐานต่าง ๆ การวิเคราะห์ ฉลากคาร์บอน และประโยชน์ที่ได้รับ Water footprint จะกล่าวถึงความเป็นมา การวิเคราะห์ และนำเสนอ Nation water footprint
3
Carbon Footprint เราก็จะมาเริ่มกันด้วยหัวข้อเรื่อง Carbon footprint
4
Global Warming การปลดปล่อย Greenhouse Gases เนื่องจากกิจกรรมต่าง ๆ เป็นสาเหตุของปัญหา สภาวะโลกร้อน ได้มีการลงนามพิธีสารเกียวโตเกิดขึ้น เพื่อร่วมมือการลดการปลดปล่อย CO2 เนื่องจากปัญหาเรื่อง Global warming ในปัจจุบัน สาเหตุที่เกิดขึ้นจากการปลดปล่อย Greenhouse gas คือ .... ปริมาณมาก ซึ่งได้เกิดการลงนามพีธีสารเกียวโตขึ้น เพื่อร่วมมือการลดการปลดปล่อย CO2
5
Total GHG emissions by Region
จากกราฟ ดังกล่าว ที่แสดงการปลดปล่อย GHG ของประเทศที่พัฒนาและกำลังพัฒนา ในปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า จะเห็นว่า มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และเนื่องจากพิธีสารเกียวโตได้เกิด กลไกการพัฒนาสะอาดขึ้น CDM เพื่อลดปริมาณ GHG โดยหนึ่งโครงการที่สำคัญคือ Carbon footprint ที่มา :
6
Carbon footprint Carbon footprint หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดยคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยจะแสดงบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในรูป ฉลากคาร์บอน โดย Carbon footprint หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดยคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยจะแสดงบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในรูป ฉลากคาร์บอน
7
มาตรฐานสำหรับ Carbon footprint
สาธารณรัฐฝรั่งเศส พัฒนาวิธีการคำนวณ และ ซอฟแวร์ตารางการทำงาน เรียก “Bilan Carbone®” (Carbon balance) นับตั้งแต่ พ.ศ.2547 สหราชอาณาจักร พัฒนามาตรฐาน “PAS 2050: 2008” -Specification for the assessment of the life cycle greenhouse gas emissions of goods and services” ซึ่งประกาศใช้นับตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2551
8
มาตรฐานสำหรับ Carbon footprint
ญี่ปุ่น ร่างแนวทางเชิงปฏิบัติ “Draft of Japanese Technical Specification – General principles for the assessment and labelling of Carbon Footprint of Products” (“CFP”) ประกาศใช้ในเดือนเมษายน 2552 ในระดับสากล ได้มีการประชุมครั้งแรกที่ประเทศมาเลเซีย ในเดือนมกราคม 2552 เกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐาน ISO Carbon Footprint of Products
9
การวิเคราะห์ Carbon footprint
กำหนดวัตถุประสงค์ เลือกผลิตภัณฑ์ ขอความร่วมมือจากผู้ค้าปัจจัย สร้างแผนผังกระบวนการ รวบรวมข้อมูล คำนวณ Carbon footprint กระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าผลกระทบของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การสกัดหรือการได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่งและการแจกจ่าย การใช้งานผลิตภัณฑ์ การใช้ใหม่ / แปรรูป และการจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า พิจารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยมีการระบุถึงปริมาณพลังงานและวัตถุดิบที่ใช้ รวมถึงของเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมและการประเมินโอกาสที่จะส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศและสุขอนามัยของชุมชน เพื่อที่จะหาวิธีการในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
10
การคำนวณ Carbon footprint
Life Cycle Assessment: LCA กระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่าผลกระทบของผลิตภัณฑ์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดช่วงชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การสกัดหรือการได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่งและการแจกจ่าย การใช้งานผลิตภัณฑ์ การใช้ใหม่ / แปรรูป และการจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า พิจารณาผลิตภัณฑ์ตั้งแต่เกิดจนตาย (Cradle to Grave) โดยมีการระบุถึงปริมาณพลังงานและวัตถุดิบที่ใช้ รวมถึงของเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมและการประเมินโอกาสที่จะส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศและสุขอนามัยของชุมชน เพื่อที่จะหาวิธีการในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ที่มา :
11
ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
conversion table ที่มา :
12
ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
ที่มา :
13
ค่าศักยภาพการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
ที่มา :
14
ตัวอย่างการประเมิน : Innocent
Life cycle innocent smoothie และ ปริมาณ carbon footprint ที่มา : Carbon trust
15
ตัวอย่างการประเมิน : Walkers crips
Life cycle walkers crips และ ปริมาณ carbon footprint ที่มา : Carbon trust
16
ฉลากคาร์บอน การแสดงข้อมูล Carbon footprint ทำได้โดยการติดฉลากบนสินค้า ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการแสดงข้อมูล ณ จุดขาย การติดฉลากคาร์บอนบนผลิตภัณฑ์ได้รับความสนใจในหลาย ๆ ประเทศ ตัวอย่างฉลากคาร์บอนในประเทศต่าง ๆ เกาหลี สวิสเซอร์แลนด์ อังกฤษ ไทย ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อเมริกา
17
Carbon footprint: England
เริ่มในอังกฤษ เดือนมีนาคม 2550 ภายใต้การกำกับดูแลของ Carbon Trust บนภาชนะบรรจุสินค้าภายใต้ตราสินค้า Tesco ผู้บริโภค จำนวนร้อยละ 66 ต้องการทราบจำนวน Carbon footprint ที่ปล่อยจากภาคการผลิตสินค้า ปัจจุบันได้มีโปรแกรมการคำนวณ carbon footprint วางขาย
18
ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในอังกฤษ
ที่มา :
19
ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในฝรั่งเศส
ที่มา :
20
ตัวอย่างสินค้าและบริษัทในญี่ปุ่น
ที่มา :
21
Carbon footprint: South Korea
ฉลาก carbon footprint label certificate ฉลาก Low carbon certification
22
ตัวอย่างสินค้าในเกาหลีใต้
ที่มา :
23
Carbon footprint: Thailand
ได้ริเริ่มโครงการในเดือน สิงหาคม โดย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ซึ่งในประเทศไทยจะแบ่งฉลากคาร์บอนออกเป็น 2 ประเภท ในช่วงแรกของโครงการจะมุ่งเน้นการออกฉลากคาร์บอนแบบที่ 2 ฉลากคาร์บอนแบบที่ 2 จะพิจารณาการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยพิจารณาเฉพาะก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเท่านั้น Carbon reduction Label
24
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้ Carbon reduction Label
จากข้อมูลวันที่ 13 กรกฎาคม 2553 มีจำนวนทั้งสิ้น 16 บริษัท 72 ผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
25
Carbon footprint: Thailand
Carbon footprint Label ฉลากแสดงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
26
โรงงานนำร่องในประเทศไทย
มีโรงงานที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 25 โรงงาน (25 ผลิตภัณฑ์) ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
27
โรงงานนำร่องในประเทศไทย
ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
28
ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติให้ขึ้นทะเบียน Carbon footprint
ข้อมูล ณ วันที่ 3 สิงหาคม 2553 จำนวน 22 ผลิตภัณฑ์ ที่มา : องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
29
ประโยชน์ ผู้บริโภค ทางเลือกใหม่ในการซื้อสินค้าและบริการ เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ผลิตปรับปรุงกระบวนการผลิต การได้มาซึ่งวัตถุดิบ และผลิตสินค้าที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อย มีส่วนร่วมในการช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน ผู้ผลิต ลดต้นทุนการผลิตจากการพัฒนากระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น แสดงเจตนารมณ์ในการรับผิดชอบต่อสังคมและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่บริษัท ลดข้อกีดกันทางการค้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากประเทศคู่ค้าอาทิ สหภาพยุโรป, ญี่ปุ่น ฯลฯ
30
Water Footprint
31
Water Introduction โลกประกอบด้วยน้ำ 3 ใน 4 ส่วน
เป็นน้ำเค็ม 96.5% และ น้ำจืด 3.44% ที่มา :
32
ความเป็นมา World Water Forum ที่กรุงอิสตันบูล ประเทศตุรกี ในปี ค.ศ. 2008 ว่าประชากรโลกจะเพิ่มจาก 6.5 พันล้านคนในปัจจุบันเป็น 9 พันล้านคนในปี ค.ศ. 2050 ผู้คนราว 1 ใน 5 หรือราว 1.3 พันล้านคนขาดน้ำสะอาดสำหรับดื่มกิน ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจากปัญหาน้ำดื่มปีละ 27 ล้านคนหรือ 1 คนทุก 8 วินาที อัตราการเติบโตของประชากรทำให้ความต้องการน้ำเพิ่มขึ้น แต่ละปีประชากรโลกมีความต้องการน้ำจืดเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 64,000 ล้านลูกบาศก์เมตร 7 องค์กรระดับโลก เช่น WWF, UNESCO, IFC และ WBCSD ได้ร่วมกันจัดตั้งเครือข่าย Water footprint
33
Water footprint “Water footprint” ของสินค้าหรือบริการ จึงเป็นปริมาณน้ำที่ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยคำนวณปริมาณน้ำจากผลรวมของทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้าและบริการนั้น สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท Blue Water Footprint Green Water Footprint Gray Water Footprint
34
การวิเคราะห์ water footprint
Virtual water คือ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินปริมาณน้ำที่ใช้จริงในประเทศ แนวความคิด ประกอบด้วย 2 ส่วน Internal water footprint External water footprint National water footprint = national water use + virtual water import – virtual water export
35
External water footprint Virtual water import for re-export
Nation Water footprint Internal water footprint External water footprint Water Water use for export Virtual water import for re-export Virtual export + = within country import Virtual water budget Consumption Export The traditional statistics on water use ที่มา :
36
Nation Water footprint
ที่มา :
37
Nation Water footprint
National water footprints for selected countries (after Hoekstra & Chapagain, 2007) ที่มา : The highest water footprint per capita ที่มา :
38
Water footprint inside product
ที่มา :
39
Reference Global Greenhouse gas data, National Metal and Materials Technology Center, Thailand, Carbon Trust, The Carbon Reduction Label, องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, Water Footprint and Virtual Water,
40
Thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.