งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
อาร์เรย์ (Array)

2 อาร์เรย์ คืออะไร การประกาศตัวแปร หลายตัว (มากกว่า 2 ตัวขึ้นไป) โดยตัวแปรภายในอาร์เรย์จะมีชื่อเหมือนกัน แต่จะต่างกันที่ตัวเลขดัชนี (index)

3 ทำไมต้องมี อาร์เรย์ โปแกรมจะซับซ้อนและยุ่งยากมากถ้าทันทีถ้าไม่มี อาร์เรย์ ตัวอย่างเช่น การประกาศตัวแปรจำนวนเต็มเพื่อเก็บเลขจำนวนเต็ม 10 ตัว int num1,num2,num3, num4,num5,num6, num7,num8,num9,num10; การรับค่าเลขจำนวนเต็ม 10 ตัว scanf(“%d”,&num1); scanf(“%d”,&num2); scanf(“%d”,&num10);

4 อาร์เรย์มีกี่แบบ อาร์เรย์ 1 มิติ (ใช้เก็บข้อมูลเสียง, อุณหภูมิ ได้)
อาร์เรย์ 2 มิติ (ใช้เก็บรูปภาพ ได้) อาร์เรย์ หลายมิติ (เช่น อาร์เรย์ 3 มิติ ใช้เก็บภาพวิดีโอ ได้)

5 อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร
รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ 1 มิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดของอาร์เรย์] ตัวอย่างการประกาศ int num[10]; อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อยดังนี้ num[0], num[1], num[2], …, num[9] เมื่อ 0,1,2,…,9 คือ เลขดัชนี (index) ที่ใช้ในการระบุตัวแปรในอาร์เรย์ เช่น num[0] คือตัวแปรตัวแรกในอาร์เรย์ num หมายเหตุ: index ตัวแรกของ อาร์เรย์เริ่มต้นที่ 0 เสมอ ดังนี้ index ตัวสุดท้าย = ขนาดอาร์เรย์ - 1

6 อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร (ต่อ)
char cc[100]; //คืออาร์เรย์ชนิดตัวอักษรมีตัวแปรในอาร์เรย์ 100 ตัว float bb[5]; //คืออาร์เรย์ชนิดเลขจำนวนจริงมีตัวแปรในอาร์เรย์ 5 ตัว อาร์เรย์ 1 มิติใช้งานอย่างไร (ต่อ) char cc[100]; //คืออาร์เรย์ชนิดตัวอักษรมีตัวแปรในอาร์เรย์ 100 ตัว float bb[5]; //คืออาร์เรย์ชนิดเลขจำนวนจริงมีตัวแปรในอาร์เรย์ 5 ตัว

7 อาร์เรย์ 2 มิติใช้งานอย่างไร
รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ 2 มิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดของอาร์เรย์มิติที่ 1 (row)] [ขนาดของอาร์เรย์มิติที่ 2 (column)] ตัวอย่างการประกาศ int num2[2][3]; อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย ซึ่งสามารถแสดงในรูปของตารางได้ ดังนี้ ขนาดรวม = 2 x 3 = 6 Column 0 Column 1 Column 2 Row 1 num2[1][0] num2[1][1] num2[1][2] Row 0 num2[0][0] num2[0][1] num2[0][2] เมื่อ 0,1,2 คือ เลขดัชนี (index) ที่ใช้ในการระบุตัวแปรในอาร์เรย์ เช่น num2[0][0] คือตัวแปรตัวแรกในอาร์เรย์ num2

8 อาร์เรย์ หลายมิติ ใช้งานอย่างไร
รูปแบบการประกาศ อาร์เรย์ หลายมิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ขนาดมิติที่ 1][ขนาดมิติที่ 2][ขนาดมิติที่ 3]…[ขนาดมิติที่ n] เมื่อ n คือ มิติสุดท้ายของอาร์เรย์

9 อาร์เรย์ หลายมิติ ใช้งานอย่างไร
ตัวอย่างการประกาศอาร์เรย์ 3 มิติ int num2[2][3][2]; //ขนาดของอาร์เรย์ = 2x3x2 = 12 อาร์เรย์นี้ ประกอบด้วยตัวแปรย่อย ซึ่งสามารถแสดงในรูปของตารางได้ ดังนี้ มิติที่ 2,index = 0 มิติที่ 2,index = 1 มิติที่ 2,index = 2 มิติที่ 1,index = 1 num2[1][0][0] num2[1][1][0] num2[1][2][0] มิติที่ 1,index = 0 num2[0][0][0] num2[0][1][0] num2[0][2][0] มิติที่ 3, index = 0 มิติที่ 2,index = 0 มิติที่ 2,index = 1 มิติที่ 2,index = 2 มิติที่ 1,index = 1 num2[1][0][1] num2[1][1][1] num2[1][2][1] มิติที่ 1,index = 0 num2[0][0][1] num2[0][1][1] num2[0][2][1] มิติที่ 3, index = 1


ดาวน์โหลด ppt Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google