ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
การวัดความสึกหรอของแบริ่งและเพลาข้อเหวี่ยง
สามารถกระทำได้ 2 วิธี คือ การวัดด้วยการใช้พลาสติกเกจ การวัดโดยการใช้ไมโครมิเตอร์
3
พลาสติกเกจ (plastigage)
ซองและสเกลวัด เส้นพลาสติกเกจ
4
ไมโครมิเตอร์ (Micromiter)
5
ถอดฝาครอบแบริ่งก้านสูบออก
ลำดับการถอดน๊อตเพลาข้อเหวี่ยง
6
การสึกหรอ หรือการเสียหาย
แบริ่งชาร์ป รอยขีดข่วน ดี เสีย ความแตกต่างระหว่างแบริ่งที่ เสียหายกับแบริ่งที่ดี
7
เช็ดน้ำมันจากแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงให้หมด
ตัดพลาสติกเกจ ให้มีความยาวเท่าๆกับความกว้างของแบริ่ง
8
ถอดฝาครอบก้านสูบออกตรวจสอบ ดูพลาสติกเกจที่ถูกบีบ
ตรวจสอบด้วยพลาสติกเกจ พลาสติกเกจ พลาสติกเกจ สเกลวัด สเกลวัด
9
พลาสติกเกจ แบนไม่สม่ำเสมอ อาจเนื่องจากการเรียวของข้อเหวี่ยงหรือแบริ่ง
ก่อนขันเข้ากับเพลาข้อเหวี่ยง หลังขันเข้ากับเพลาข้อเหวี่ยง
10
การใช้ ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ
การใช้ ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ การตรวจสอบด้วยสายตาดูรอยขีดข่วนและรอยแหว่ง รอยขีดข่วนและรอยแหว่ง ที่เพลาข้อเหวี่ยง
11
จุดที่ทำการวัด การวัดโดยใช้ไมโครมิเตอร์ ทำการวัด 4 จุด
12
การเจียร์ข้อเหวี่ยง
13
สรุป การวัดความสึกหรอของแบริ่งก้านสูบและเพลาข้อเหวี่ยงก็สามารถกระทำได้ 2 วิธี คือ การวัดด้วยการใช้พลาสติกเกจ การวัดโดยการใช้ไมโครมิเตอร์ แต่ก่อนอื่นการตรวจเราสามารถตรวจดูด้วยสายตาโดยดูรอยการขีดข่วนและการสึกหรอจากภายนอกเสียก่อนและเมื่อพบการสึกหรอมากกว่าค่าที่กำหนดก็ต้องทำการเจียร์เพลาข้อเหวี่ยงใหม่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.