ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวโน้มของตารางธาตุ
2
สมบัติต่างๆในตารางธาตุ
ขนาดอะตอม ขนาดไอออน IE EA EN E0 จุดเดือด จุดหลอมเหลว
3
ขนาดอะตอม ตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ้นจากบนลงล่าง
ตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ้นจากบนลงล่าง เพราะ ระดับพลังงานสูงขึ้น ตามคาบ ขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา เพราะ ธาตุแต่ละตัวอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่จำนวนโปรตรอนเพิ่มมากขึ้น จึงดึงดูดอิเล็กตรอนได้มากขึ้นตามลำดับ
4
ขนาดไอออน ไอออนบวก ขนาดจะเล็กลงเพราะจ่ายอิเล็กตรอน
ไอออนลบ ขนาดจะเพิ่มขึ้น เพราะรับอิเล็กตรอน
5
EN (Electron Negativity)
คือ ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอน โดยธาตุที่มีขนาดเล็กจะดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุที่มีขนาดใหญ่ เพราะธาตุขนาดเล็กมีแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนมาก
6
IE (Ionization Energy)
คือ พลังงานอย่างน้อยที่ดึงอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอมในสภาวะแก็ส ตามหมู่ จะต่ำลงจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากขวาไปซ้าย ยกเว้น หมู่ 2 สูงกว่า หมู่ 3 และ หมู่ 5 สูงกว่า หมู่ 6
7
EA (Electron Affinity) คือ พลังงานที่คายออกมาเพื่อรับอิเล็กตรอนเข้าไปอยู่ในอะตอมในภาวะแก็ส
ตามหมู่ จะต่ำลงจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากขวาไปซ้าย ยกเว้น หมู่ 2 และ หมู่ 5 จำต่ำกว่าปกติ เพราะ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงงานย่อยเสถียรอยู่แล้วจึงไม่ต้อง การรับอิเล็กตรอนเพิ่ม
8
ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน (E0)
คือ ความสามารถในการชิงอิเล็กตรอนในรูปสารละลาย ตามหมู่ จะลดจากบนลงล่าง ตามคาบ จะสูงขึ้นจากซ้ายไปขวา
9
จุดเดือด จุดหลอมเหลว พันธะโลหะ ธาตุที่มีความหนาแน่นมากจุดเดือด จุดหลอมเหลวจะสูงมาก พันธะโคเวเลนต์ (แบบลอนดอน) จุดเดือด จุดหลอมเหลว เพิ่มตามมวลและขนาดโมเลกุล พันธะโคเวเลนต์ (แบบโครงผลึกร่างตาข่าย) จุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมากๆ เพราะทำลายพันธะโคเวเลนต์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.