ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
มีอาหารหลายชนิดที่เรากินโดยไม่รู้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ อาจเป็นต้นเหตุให้เกิดโรคร้ายแรงได้ สารเคมีสำคัญๆ ที่มักจะปนเปื้อนในอาหาร 4 ชนิด ที่มักตรวจพบในอาหาร ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารกันบูด สารฟอกขาว สารฟอร์มาลิน
2
สารบอแรกซ์ ลักษณะทั่วไป : มีลักษณะเป็นผงสีขาว, เป็นสารที่ใช้ในอุตสาหกรรม คุณสมบัติ : ทำให้อาหารมีความกรุบกรอบ คงตัวได้นาน ไม่เสียง่าย ลักษณะอาการ : มี 2 ลักษณะ แบบเฉียบพลัน จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หงุดหงิด ผิวหนังอักเสบ ผมร่วง แบบเรื้อรัง จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผิวหนังแห้ง หน้าตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับไตอักเสบ วิธีแก้ไขปัญหา : ไม่ซื้อหมูบดสำเร็จรูป ไม่กินอาหารที่มีลักษณะกรอบ วิธีตรวจสอบ : ใช้ชุดตรวจสอบของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คือ ถ้า กระดาษขมิ้นเปลี่ยนสีเป็นสีแดง แสดงว่ามีสารบอแรกซ์อยู่
3
สารกันบูด ความหมาย :เป็นกรดที่มีอันตรายต่อร่างกายมาก ซึ่งผู้ผลิตอาหารบางรา นำมาใส่เป็นสารกันเสียในอาหารแห้ง คุณสมบัติ : ป้องกันเชื้อราขึ้นในอาหาร ลักษณะอาการ : เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้า ไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลใน กระเพาะอาหารและลำไส้ได้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางราย ที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้ วิธีแก้ไขปัญหา :เลือกกินอาหารที่สดใหม่ ไม่กินอาหารหมักดอง หรือเลือก ซื้อจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ วิธีตรวจสอบ : การทดสอบเบื้องต้นสารกันรา โดยชุดตรวจกรมซาลิซิลิค ในอาหาร
4
สารฟอกขาว คุณสมบัติ : ทำให้อาหารมีสีขาว
ลักษณะอาการ : เมื่อสัมผัสโดยตรงจะทำให้ผิวหนังอักเสบ เป็นผื่นแดง และ ถ้ากินเข้าไป จะทำให้เกิดอาการอักเสบในอวัยวะที่สัมผัสอาหาร เช่น ปาก ลำคอ กระเพาะอาหาร เกิดอาการปวดหลัง ปวดศีรษะ อาเจียน แน่น หน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตลดลง และหากกินมากอาจ เสียชีวิตได้ วิธีแก้ไขปัญหา : เลือกกินอาหารที่มีสีใกล้เคียงธรรมชาติ ไม่ขาวจนเกินไป วิธีตรวจสอบ : โดยใช้ชุดทดสอบสารฟอกขาวของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
5
สารฟอร์มาลิน คุณสมบัติ : ทำให้อาหารคงความสดอยู่ได้นาน ไม่บูดเน่าง่าย
คุณสมบัติ : ทำให้อาหารคงความสดอยู่ได้นาน ไม่บูดเน่าง่าย ลักษณะอาการ : เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่าง รุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณ มาก วิธีแก้ไขปัญหา : ไม่กินอาหารทะเลสดๆ และเนื้อสัตว์แบบสดๆ วิธีตรวจสอบ : โดยใช้ ชุดทดสอบฟอร์มาลิน ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
6
จัดทำโดย 1.ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญทวี ม.1/4 เลขที่14
1.ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญทวี ม.1/4 เลขที่14 2.ด.ช.ปัญญณัฐ เทพกุล ม.1/4 เลขที่23 3.ด.ช.วศิน พิพิธพงศ์สันต์ ม.1/4 เลขที่37
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.