ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ครูผู้สอน นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์ หน่วนที่ 5 ตัวดำเนินการ โดย น.ส.บุษณีมาศ นิสาธรณ์
2
ตัวดำเนินการแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มดังนี้
1. ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) 2. ตัวดำเนินการในการกำหนดค่า (Assignment Operators) 3. ตัวดำเนินการในการเพิ่มและลดค่า (Increment and Decrement Operators) 4. ตัวดำเนินการเชิงสัมพันธ์ (Relational Operator) 5. ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical operator)
3
1. ตัวดำเนินการคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators)
Binary Operators ตัวดำเนินการที่ต้องใช้ค่า 2 ค่าในการดำเนินการ ตัวดำเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง + การบวก result = a + b; - การลบ result = a – b; * การคูณ result = a * b; / การหาร result = a / b; % การหารเอาเศษ (modulus) result = a % b;
4
- (เครื่องหมายลบหน้าตัวเลข)
ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย ลำดับความสำคัญ ทำจาก () สูงสุด ต่ำสุด ซ้ายไปขวา ++,-- ขวาไปซ้าย - (เครื่องหมายลบหน้าตัวเลข) * , / , % + , -
5
9 / 2 = 4 เอาจำนวนเต็ม 9%2 = 1 เอาแต่เศษ
ตัวอย่าง 9 / 2 = 4 เอาจำนวนเต็ม 9%2 = 1 เอาแต่เศษ 2 + 3 * 4 = ? (2 + 3) * 4 = ?
6
2. ตัวดำเนินการในการกำหนดค่า (Assignment Operators)
โอเปอเรเตอร์ ตัวอย่างการใช้งาน มีความหมายเท่ากับ += x += y x = x + y -= x -= y x = x – y *= x *= y x = x * y /= x /= y x = x / y %= x %= y x = x % y
7
กำหนดให้ x = 2, y = 3 มีการเก็บค่าตัวแปรดังนี้
x = x+y คณิตศาสตร์ อ่านว่า x เท่ากับ x บวก y x = x+y คอมพิวเตอร์อ่านว่า เอา x บวก y แล้วเก็บไว้ที่ x กำหนดให้ x = 2, y = 3 มีการเก็บค่าตัวแปรดังนี้ ชื่อตัวแปร ค่าที่เก็บ x 2 y 3 x = x + y ? 2 + 3 5
8
ตัวอย่าง กำหนดให้ a = 1, b = 6, c = 2, d = 4 1. a = a + c 2. b = b - c
9
3. ตัวดำเนินการในการเพิ่มและลด
โอเปอเรเตอร์ ตัวอย่าง ความหมาย เขียนได้อีกอย่างหนึ่ง ++ x = i++ จะนำค่า i ไปใช้ก่อน แล้วจึงเพิ่มค่า i ขึ้น 1 i = i + 1 x = ++i จะเพิ่มค่าของ i ขึ้น 1 แล้วจึงนำค่า i ไปใช้ -- x = i-- จะนำค่า i ไปใช้ก่อน แล้วจึงลดค่า i ลง 1 i = i - 1 x = --i จะลดค่าของ i ลง 1 แล้วจึงนำค่า i ไปใช้
10
y = x++ y = ++x y = x y = 3 x = x+1 x = 4 x = x+1 y = x x = 4 y = 4
ลำดับการทำงาน y = x x = x+1 y = 3 x = 4 ลำดับการทำงาน x = x+1 y = x y = ++x x = 4 y = 4 จะเห็นได้ทั้ง x++ และ ++x ต่างก็ทำ x = x+1 เหมือนกัน แต่ลำดับ การทำงานต่างกัน
11
ตัวอย่าง กำหนด a = 5 b = a++ b = ++a
12
4. ตัวดำเนินการเชิงสัมพันธ์ (Relational Operator)
ผลลัพธ์ที่ได้ เท็จ (0), จริง (1) ตัวกระทำ ความหมาย ตัวอย่าง == เท่ากับ x==y > มากกว่า x>y < น้อยกว่า x<y >= มากกว่าหรือเท่ากับ x>=y <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ x<=y != ไม่เท่ากับ x!=y
13
กำหนดให้ a=5, b=7, c=9 1.ตอบ 0 2.ตอบ 1 3.ตอบ 0 1. (a + b) < c
2. (a * 2) = = (a + b + c) / 2 <= (a + b) 1.ตอบ 0 2.ตอบ 1 3.ตอบ 0
14
5. ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical operator)
ใช้สำหรับเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างนิพจน์ตั้งแต่ 2 นิพจน์ ขึ้นไป ผลจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ดังกล่าว จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงหรือเท็จ ตัวดำเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง && และ(and) (X>=70) && (X<=79) || หรือ(or) ch==‘Y’ || ch==‘y’ ! ไม่(not) !(ch==‘y’)
15
ลำดับของเครื่องหมายในการคำนวณ
1 () 2 !, ++, -- 3 *, /, % 4 +, - 5 <, <=, >, >= 6 ==, != 7 && 8 || 9 *=, /=, +=, -=
16
8 > 5 || 5 > 9 && !(4 < 3) 1 || 0 && !(0) 1 || 0 && 1 1 || 0
ตัวอย่าง วิธีหาค่าความจริงของนิพจน์ต่อไปนี้ 8>5||5>9&&!(4<3) 8 > 5 || 5 > 9 && !(4 < 3) 1 || && !(0) 1 || && 1 1 || 0 1
17
กำหนด a = 7 , b = 2, c = 3, d = 1 1. (a - b) * 10 / c && d a / b + c * 10 % (d - 3) 3. a * (++b - c) / d + 5 % e 4. a – b + 15 && c * d / 5 || e == 3 5. (a + b) * 2 == c % d * (e + 7) 6. ++d / e * c && a + 3 * b
18
การแปลงชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลมี 2 ประเภท คือ 1. เปลี่ยนชนิดตัวแปรโดยอัตโนมัติ (Implicit Type Connversion) คือ ภาษาซีจะทำการแปลงชนิดของข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยอัตโนมัติ ชนิดข้อมูล double สำคัญสูงสุด สำคัญต่ำสุด float int char
19
ตัวอย่าง
20
การแปลงชนิดของข้อมูล
2. เปลี่ยนชนิดตัวแปรโดยคำสั่ง(Explicit type convertion) คือ การที่ผู้เขียนโปรแกรมทำการแปลงชนิดข้อมูลจากชนิดหนึ่งไป เป็นอีกชนิดหนึ่งด้วยตนเอง ภาษาซีไม่ได้ทำการแปลงให้ เช่น int a,b; float c; (float)a หมายความว่า ต้องการแปลงข้อมูลจาก int float (float)(a-b) หมายความว่า ทำ (a-b) ก่อน แล้วแปลงเป็น float
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.