งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผน/นโยบาย ICT กับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผน/นโยบาย ICT กับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผน/นโยบาย ICT กับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์
โดย ชุมพล ครุฑแก้ว Ph.D. - Information Engineering ผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 5 ส.ค คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2 ภาพรวมการนำเสนอ แผนและนโยบายด้าน ICT (ICT Policy & Plan)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government & E-Services) อนาคตของเทคโนโลยี (Future Trends)

3 1. แผนและนโยบายด้าน ICT

4 กิจกรรมสำคัญด้านไอทีของไทยที่ผ่านมา
2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 คณะกรรมการ Y2K แห่งชาติ เครือข่ายไทยสาร-III สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ และ GINet Software Park Thailand นโยบาย IT-2000 นโยบาย IT-2010 IT-Year การกำหนดให้มี CIO ภาครัฐ และแผนแม่บท IT เครือข่ายไทยสาร ถึงทุกมหาวิทยาลัย เครือข่ายไทยสาร-II APAN และ Internet2 บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ 5000 รร. SchoolNet Thailand Govt IT Week and Govt IT Awards เครือข่ายกาญจนาภิเษก e-Thailand/e-ASEAN บริษัท เทรดสยาม จำกัด e-Gov EU-Asia PMO E-Commerce Resource Center การยกร่างกฎหมาย IT จำนวน 6 ฉบับ ร่าง กม.ธุรกรรมและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน ครม. ร่าง กม.ลำดับรอง ตาม รธน.๗๘ ผ่าน ครม. 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002

5 แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙
แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

6 กระบวนการการจัดทำแผนแม่บทฯ ICT
๗. วิเคราะห์แนวทางการประเมินผลแผนฯ ๖. กำหนดแผนงานกิจกรรมและระยะเวลาการดำเนินงาน ๕. แปลงผัง SWOT เป็นยุทธศาสตร์ ๔. ยกร่างเป้าประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ๓. จัดลำดับความสำคัญของ SWOT ๒. วิเคราะห์ SWOT ๑. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

7 เป้าหมายการพัฒนา ICT ส่ง ออก การยกระดับของประเทศไทย
ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เครื่องมือช่วยพัฒนาประเทศ เพิ่มขีดความสามารถของการแข่งขัน สร้างสังคม คุณภาพ และเป็นสังคมแห่ง ภูมิปัญญาและ การเรียนรู้ การพัฒนาที่ยั่งยืน เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และความรู้ เป็น enabling technology ตลาดในประเทศ จะช่วยให้เกิดกำลังในการพัฒนาเทคโนโลยี

8 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ ที่มา : คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ๑๑ มิ.ย. ๔๕ เศรษฐกิจ สังคม e-Industry e-Commerce services/agriculture/ and tourism e-Society e-Education e-Government นวัตกรรม, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,การวิจัยและพัฒนา,ความรู้ การพัฒนาสารสนเทศ, ทักษะพื้นฐานของประชาชน และบุคลากรด้านไอที โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ปริมาณ คุณภาพ *

9 กลยุทธ ตามนโยบาย IT2010 มาตรการและแนวทาง eCommerce eIndustry
ยกระดับประสิทธิภาพในการ ผลิตโดยใช้ไอที ขยายฐานการตลาดโดยใช้ไอที ใช้ไอทีเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง ด้านการเกษตร เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม ไอทีที่มีศักยภาพ จัดให้มี Thailand Exchange ส่งเสริมการใช้ไอทีใน ภาคการผลิต จัดให้มีข้อมูลทางด้าน การตลาด ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาใน ภาคเอกชน ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรใน ภาคการผลิตให้มีและ แลกเปลี่ยนความรู้ ส่งเสริมอุตสาหกรรมไอที เพื่อลดการนำเข้าและ เพื่อการส่งออก ส่งเสริมการใช้ไอทีใน ภาคการเกษตร จัดทำแผนแม่บท จัดให้มีหน่วยงานติดตาม และสนับสนุน ปรับปรุงระบบงานและการ จัดระบบข้อมูลทั้งในส่วน กลางและองค์กรท้องถิ่น พัฒนาข้าราชการให้มี ทักษะ ปรับกฎหมายและกฎ ระเบียบให้เอื้ออำนวย จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศและส่งเสริมอุตสาหกรรมสารสนเทศของ ไทย สร้างความตระหนักและ ความเชี่อมั่นของประชาชน พัฒนาประสิทธิภาพ ภายในองค์กร (Back Office) พัฒนาระบบบริการ ประชาชน (Front Office) ปรับปรุงระบบบริหาร ราชการเพื่อนำไปสู่ Good Governance ลดความเหลื่อมล้ำของการ เข้าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital Divide) เพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับ ประชาชน (Quality of Life) ส่งเสริมการเรียนรู้ (Learning Society) สร้างโอกาสในการเข้าถึง สารสนเทศและความรู้ ส่งเสริมชุมชนและองค์กร แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาทักษะของประชาชนในการเข้าถึงและใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้ไอทีเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อวัฒนธรรมและความเอื้ออาทรในสังคม ส่งเสริมการจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะ สมและสนับสนุนอุตสาหกรรมไอทีของไทย สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุปกรณ์ ที่มีอยู่แล้ว (Value-added) ลดความเหลื่อมล้ำโดยลงทุน อย่างเหมาะสม (Equity) วางแผนก้าวกระโดดในระยะ ยาว(Quantum-jump) ยกระดับครูให้มีทักษะด้าน ไอที (Teachers’ Training) เร่งผลิตฐานความรู้ (Content Development) สร้างเครือข่ายการศึกษาที่มีระบบบริหารจัดการที่ดี (Networking) สนับสนุนการใช้ไอทีเพื่อยกระดับความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศและส่งเสริม อุตสาหกรรมไอทีของไทย ส่งเสริมการส่งออก ส่งเสริมการค้าบริการ ส่งเสริมการบริโภคจากผู้ประกอบการภายใน ประเทศ กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการชำระเงินผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ปลอดภัย สร้างความตระหนักแล ะความเข้าใจ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและย่อม สร้างตลาดให้ภาคเอกชนผ่าน e-Procurement ของภาครัฐ พัฒนาบุคลากร จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เหมาะสม และส่งเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย กลยุทธ ตามนโยบาย IT2010 eCommerce eIndustry eGovernment eSociety eEducation มาตรการและแนวทาง

10 ยุทธศาสตร์และแผนงาน ของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙
๔. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต ๗. ICT กับการบริหารงานภาครัฐ กับการ ๑. พัฒนาอุตสาหกรรม ICT ๓. การปฏิรูป R&D ๖. ICT เพื่อ SMEs ๒. ยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคมไทย ๕. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

11 แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙
ยุทธศาสตร์ ๗ : การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ “ให้รัฐดำเนินการพัฒนาการใช้ ICT ในส่วนงานของรัฐอย่างมีบูรณาการและเอกภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารประเทศและในการให้บริการประชาชนและภาคเอกชน อย่างมีประสิทธิภาพ” ให้มีกระทรวงที่รับผิดชอบการวางแผน ส่งเสริม พัฒนา และดำเนินการด้าน ICT ของประเทศไทย ปฏิรูปการบริหารและการจัดการของหน่วยงานภาครัฐ โดยจัดตั้งโครงสร้างส่วนงานสนับสนุน CIO ปรับกฎระเบียบและวิธีบริหารราชการเพื่อใช้ประโยชน์จาก ICT และจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา ICT อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาฐานข้อมูลภาครัฐโดยกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับข้อมูลและการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ทุกหน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างมีเอกภาพ จัดให้มีระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากร และการป้องกันภัยพิบัติ บริหารการใช้โครงข่ายสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ทั้งด้าน ICT และด้านอื่นๆ รวมถึงการจัดตั้งสถาบัน e-Government สำหรับการพัฒนาความรู้ความสามารถด้าน ICT พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสำเร็จและวิเคราะห์ปัญหาการพัฒนา ICT ของประเทศ พัฒนาระบบโครงข่ายประสาทดิจิตอล (Digital Nervous System) เพื่อให้รัฐบาลสามารถบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

12 แผนงานที่เป็น พลังขับเคลื่อน
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ แผนงานที่เป็น พลังขับเคลื่อน การพัฒนา อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ การพัฒนา รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมSME ในการนำ ICT มาประยุกต์ใช้ ปัจจัยสำคัญเพื่อการพัฒนาแบบยั่งยืน การพัฒนากำลังคน และวิชาชีพ การนำมาตรฐานต่างๆ ไปปฏิบัติใช้งาน การสร้างและพัฒนากระบวนการและระบบ การจัดการและสั่งสม สมบัติทางปัญญา โครงการพัฒนาบัตรประจำตัวอิเล็กทรอนิกส์ (Multi-application smart ID card) โครงการพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) โครงการพัฒนาและจัดทำมาตรฐานซอฟต์แวร์กลาง เพื่อการบริหารของภาครัฐ (ระบบ back office) โครงการจัดตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ (Government Data Exchange: GDX) โครงการจัดทำโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (National Spatial Data Infrastructure) โครงการจัดตั้งสถาบัน e-Government

13 ข้อมูลสรุปภาพรวม

14 แสดงโครงการรายหน่วยงาน

15 แสดงโครงการรายยุทธศาสตร์

16 แสดงงบประมาณรายหน่วยงาน

17 2. e-Government & e-Services

18 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
ความหมายโดย ธนาคารโลก: “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร(ICT) ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ ความสัมฤทธิผล ความโปร่งใส และความน่าเชื่อถือของรัฐบาล” ความหมายโดย สหประชาชาติ: “ความผูกมัดตลอดไปของรัฐบาลในการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่าง ประชาชนและภาครัฐโดยการยกระดับการสร้างความคุ้มค่า และ การสร้างประสิทธิภาพในเรื่องการให้บริการข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้” ความหมายโดย โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์: “หมายถึงวิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อ: กิจกรรม: เพิ่มประสิทธิภาพและ สร้างความโปร่งใสของ การดำเนินงานของภาครัฐ มาตรฐาน ซอฟต์แวร์ กลาง (Back Office) ศูนย์ แลกเปลี่ยน ข้อมูลภาครัฐ (GDX) โครงข่าย ประสาท ดิจิทัล (DNS) ศูนย์ สารสนเทศ นายกรัฐมนตรี (NOC) การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ ปรับปรุงการบริการเพื่อ ประชาชน ส่งเสริมเศรษฐกิจ และพัฒนาสังคม ” บริการ ข้อมูลข่าวสาร และเชิงรายการ โอนเงิน และ ทำธุรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ จัดซื้อ จัดจ้าง ทาง อิเล็กทรอนิกส์ บริการ แบบ ที่เดียว ทันใด ทั่วไทย ทุกเวลา โครงสร้างพื้นฐาน ,Smart ID Card, e-Citizen

19 E-Government = Evolution Government ?

20 การปรับองค์กรให้สอดคล้องกับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เป็น การแปลงสภาพ (Transforming) รัฐบาล ที่มุ่ง ประชาชนเป็นจุดศูนย์กลาง และ เทคโนโลยี เป็น เครื่องมือ ที่จะทำให้บรรลุผล รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ที่ประสบผลสำเร็จนั้น ต้อง เปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานของรัฐบาล จัดการกับข้อมูลสารสนเทศ ปรับทัศนคติของเจ้าหน้าที่ต่องานและประชาชน มีความร่วมมือระหว่างรัฐบาล ประชาชน และ ภาคเอกชน ต้องได้รับข้อมูลสนองตอบจากลูกค้าผู้ใช้บริการของรัฐ “ฟังเสียง” และ “ฟังความคิดเห็น” ของประชาชน ที่มา :- เอกสาร “เส้นทางสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” The Roadmap for e-Government in the Development World” จัดทำโดยคณะทำงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา

21 เส้นทางสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (10 คำถาม สำหรับผู้นำด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ต้องถามตัวเอง)
๑. ทำไมเราจึงต้องมุ่งไปยัง “รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” ๒. มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนหรือยัง ? และคิดถึงสิ่งที่ต้องทำก่อนหลังหรือยัง ? สำหรับรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ๓. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบไหนที่เหมาะสมสำหรับเรา ? ๔. กลุ่มการเมืองเข้ามาสนับสนุนการดำเนินการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ อย่างพอเพียงหรือยัง ๕. เราได้เลือกโครงการ e-Government ด้วยวิธีที่ดีที่สุดหรือยัง ? ๖. ควรวางแผนและจัดการโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างไร ๗. เอาชนะแรงต่อต้านที่เกิดจากคนของรัฐได้อย่างไร ๘. เราจะวัดและสื่อสารให้เห็นความก้าวหน้าได้อย่างไร เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเรากำลังจะล้มเหลว ๙. ความสัมพันธ์กับภาคเอกชนควรเป็นแบบใด ๑๐. การพัฒนา e-Government จะช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมของสาธารณชนอย่างไร? ที่มา :- เอกสาร “เส้นทางสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” The Roadmap for e-Government in the Development World” จัดทำโดยคณะทำงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา

22 E-Services Innitiatives

23 เป้าหมายในการดำเนินงาน e-Government ในประเทศพัฒนา (e-Services)
ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา หน่วยงานสำคัญให้บริการข้อมูลทางInternet ในปี 2001 หน่วยงานหลักให้บริการ online ในปี 2004 เอกสารแบบฟอร์มหลักเรียกใช้ได้แบบ electronic ในปี 2001 หน่วยงานบริการสาธารณะ ให้บริการแบบ electronic ในปี 2000 25 % ของบริการของรัฐ เป็นแบบ electronic ในปี 2002 ทุกเคาน์เตอร์ให้บริการแบบ electronic ในปี 2001 แบบฟอร์มต่างๆ สามารถยื่นต่อรัฐผ่านทาง Internet ในปี 2003 บริการทั้งหมดของรัฐ เป็นแบบ electronic ในปี 2005 ให้บริการเข้าถึงข้อมูลและเอกสารทาง electronic ในปี 2003

24 E-Government = E-Services Government ?

25 แนวคิดการให้บริการของภาครัฐต่อประชาชน
การให้บริการแบบ 4 ท. (4R) ที่เดียว (Red Tape Reduction) ทันใด (Rapid) ทั่วไทย (Rural Area Coverage) ทุกเวลา (Round the Clock)

26 ตัวอย่างของการดำเนินการ ในต่างประเทศ

27 แนวทางในการดำเนินงาน
Demand Demand: สร้างกลไกกระตุ้นความ ต้องการของประชาชน และภาคธุรกิจ Supply Supply: ภาครัฐดำเนินการให้บริการ ข้อมูลข่าวสารและบริการ แบบออนไลน์ Change Change: ปรับเปลี่ยนวิธีการและ ขั้นตอนการทำงาน ของภาครัฐ Capability Capability: สร้างโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการดำเนินการ แบบอิเล็กทรอนิกส์

28 แนวทางในการดำเนินงาน (ต่อ)
Demand Demand: สร้างกลไกกระตุ้นความ ต้องการของประชาชน และภาคธุรกิจ Demand: สิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา Supply Supply: ภาครัฐดำเนินการให้บริการ ข้อมูลข่าวสารและบริการ แบบออนไลน์ Supply: ออสเตรเลีย แคนนาดา ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา Change: ออสเตรเลีย อังกฤษ Change: ปรับเปลี่ยนวิธีการและ ขั้นตอนการทำงาน ของภาครัฐ Change Capability: ฟินด์แลนด์ สิงคโปร์ เนเธอแลนด์ สวีเดน Capability Capability: สร้างโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการดำเนินการ แบบอิเล็กทรอนิกส์

29 ลักษณะเฉพาะของผู้นำ ในการพัฒนา e-Service (e-Gov)
วางนโยบายและนำไปปฏิบัติจริงได้อย่างรวดเร็วทันต่อ สถานการณ์ ดำเนินงานโดยยึดแนวทางตามความต้องการของ ประชาชนเป็นหลัก ประชาชนคือลูกค้า : นำระบบ CRM มาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการตลาด ให้บริการที่หลากหลายมีคุณภาพ ซับซ้อนแต่ใช้งานง่าย ให้บริการ Web Portal ที่นำผู้ใช้ไปสู่หลากหลายบริการของรัฐ

30 G-C eCitizen Centre A life journey concept 11 Towns Over 330
A first-stop, Government e-service portal 11 Towns Over 330 e-services Launched in May 99 A life journey concept

31 Directgov (www.direct.gov.uk)
Directgov is the government site with the latest and widest range of public services and government info eg everything from: booking a driving test, finding a job, getting advice about childcare, renewing your passport and lots more Launched in April 2004

32 Directgov business structure
One stop e-shop web DiTV Mobile Customer segmented franchises

33 Focus on citizen, not structures

34 เว็บไซต์ของจังหวัดโออิตะ (www.pref.oita.jp)
ค้นหาข้อมูล ที่ต้องการ Topic ที่น่าสนใจ รายการหลัก ของเว็บเไซต์ รายการ บริการ ประชาชน ที่ใช้บ่อย (ข้อมูล, ความรู้, ขั้นตอน, File Download) ข้อมูลความรู้ โครงสร้าง การบริหาร รวบรวมลิงค์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้อง ข่าวสารทั่วไป

35 แผนที่แสดงโครงการ “1 Village 1 Product” ของจังหวัดโออิตะ

36 เขตการปกครองท้องถิ่น สร้าง brand name ในเรื่องของผลผลิต การประมง
แผนที่ แสดงโครงการ “1 Village 1 Fish” ที่ผลักดันให้แต่ละ เขตการปกครองท้องถิ่น สร้าง brand name ในเรื่องของผลผลิต การประมง ที่มีความสมบูรณ์ และเป็นชื่อเสียง ของจังหวัดโออิตะ 10400/sakana/

37 “สถานีรถยนต์ท้องถิ่น” หรือที่พักริมทาง สำหรับผู้ที่เดินทาง
แผนที่แสดงโครงการ “สถานีรถยนต์ท้องถิ่น” หรือที่พักริมทาง สำหรับผู้ที่เดินทาง ท่องเที่ยวทางรถยนต์ มีสิ่งอำนวยความสะดวก พร้อมผลิตภัณฑ์ของ ท้องถิ่นจำหน่าย และยังเป็นจุดท่องเที่ยว ที่แสดงวัฒนธรรมหรือ เอกลักษณ์ของ แต่ละท้องถิ่น topics/satonoeki/

38 3. เทคโนโลยีในอนาคต (U-Government Initiatives)

39 PC & Internet Host in Japan
単位:台 จำนวน Internet Host ต่อประชากร 1000 คน 単位:台 ■世界をリードするモバイルの活用状況 ・ブロードバンドに加えて、日本はモバイル=携帯電話でも世界最先端である。 ・移動系通信(携帯電話+PHS)の契約数は、2000年11月末には固定系通信(加入電話+ISDN)を上回り、2003年3月末には固定1:携帯1.3 の比率になっている。 (米国は 固定1:携帯0.7 2002年末時点)  ・携帯電話のうち、インターネット接続機能の普及率は現時点では80%を超えており (2003年7月末:83.7%)、欧米をはるかにしのいでいる。 ・また、iモードやJ-Skyなどの、コンテンツ事業/サービス事業がビジネスモデルとして確立されているのも日本の特徴である。 ・NTTドコモではヨーロッパや台湾の通信事業者にライセンスを供与して、iモードの海外展開を進めており、「日本発」のビジネスモデルが世界に広まろうとしている。  *2003年8月末時点での欧州でのiモード契約者は約77万契約。   NTTドコモの海外i-modeサービス:欧州6カ国、アジア1地域での提供を実現 (2001年) (2002年) 出典:ITU(2003年4月24日発表)

40 World leading Mobile Utilization
Phone line/Mobile Phone การใช้ Internet ทาง Mobile Phone 8,112万 Mobile Phone (โทรศัพท์มือถือ+PHS) 6,077万 Phone line (โทรศัพท์บ้าน+ISDN) ■世界をリードするモバイルの活用状況 ・ブロードバンドに加えて、日本はモバイル=携帯電話でも世界最先端である。 ・移動系通信(携帯電話+PHS)の契約数は、2000年11月末には固定系通信(加入電話+ISDN)を上回り、2003年3月末には固定1:携帯1.3 の比率になっている。 (米国は 固定1:携帯0.7 2002年末時点)  ・携帯電話のうち、インターネット接続機能の普及率は現時点では80%を超えており (2003年7月末:83.7%)、欧米をはるかにしのいでいる。 ・また、iモードやJ-Skyなどの、コンテンツ事業/サービス事業がビジネスモデルとして確立されているのも日本の特徴である。 ・NTTドコモではヨーロッパや台湾の通信事業者にライセンスを供与して、iモードの海外展開を進めており、「日本発」のビジネスモデルが世界に広まろうとしている。  *2003年8月末時点での欧州でのiモード契約者は約77万契約。   NTTドコモの海外i-modeサービス:欧州6カ国、アジア1地域での提供を実現 各年3月末 (出典:総務省) 2002年9月時点 (出典:情報通信白書)

41 “Ubiquitous Computing”
My colleagues and I at PARC believe that what we call ubiquitous computing will gradually emerge as the dominant mode of computer access over the next twenty years. Like the personal computer, ubiquitous computing will enable nothing fundamentally new, but by making everything faster and easier to do, with less strain and mental gymnastics, it will transform what is apparently possible. Dr. Mark Weiser, “The Computer for the 21th Century”, Scientific American, August 1991 U-Government = Government Everywhere (in Everything) ■ユビキタス社会 ・ユビキタス社会のイメージを示したものがこのスライド。 ・一言で言えば、「ホーム、モバイル、カー、オフィス等の分野で「ヒト」、「モノ」、「組織」がつながる世界」ということになる。

42 Ubiquitous Networking Applications

43 Information Management in Government Operation Center

44 Beneath the Iceberg Thailand e-Government Development
Political will And support Civil Servant Attitudes HRD CIO/CEO Program CIO Training CIO Forum CIO Conference National Operation Center - Ministry of ICT - National IT Committee Computer and Network Infrastructure - e-Commerce Resource Center - G to C - G to B - e-Procurement - e-Tax e-Citizen e-Marketplaces E-Commerce Infrastructure Information Infrastructure - Government IT Services - Government Information Network - SchoolNet Security & Policy Rules & Regulations Legal Infrastructure - Govt Data Infra. - Govt News Exchange - Govt Data Exchange - Government Interoperability PKI ThaiCERT Computer Crime Law - Gov CA Service Information in every organization MOC/DOC/POC - Electronic Transactions Act Data Protection Law NII Law, EFT Law

45 แนวทางการจัดทำระบบประสาทดิจิทัล และหอยุทธศาสตร์
แนวทางการจัดทำระบบประสาทดิจิทัล และหอยุทธศาสตร์ Back-office และเครือข่าย กระทรวง สำนัก ICT ส.ป. สำนัก ICT ส.ป. สำนักเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร ส.ป. 20 กระทรวง .... ปรับปรุง ยุทธศาสตร์ สำนักงาน รัฐมนตรี .... Digital Nervous System (ระบบเครือข่ายข้อมูลภาครัฐ) ศูนย์สารสนเทศของ นายกรัฐมนตรี ดูภาพรวมของประเทศ คณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ ดู KPI ของแต่ละกระทรวง กระทรวง ICT กำหนดมาตรฐานข้อมูล และ สนับสนุนวิชาการ + เทคโน และ พัฒนาคนด้าน ICT

46 NOC: General Framework
PMOC ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี NOC ศูนย์ปฏิบัติการแห่งชาติ MOC ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงต่างๆ POC ศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัด DOC ศูนย์ปฏิบัติการกรมต่างๆ

47 Operation Center (MOCK UP)
ตัวอย่างต้นแบบศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง ICT

48 สรุปภาพรวมสถานะของแต่ละยุทธศาสตร์

49 เนื้อที่ปลูกข้าวนาปี พ.ศ. ๒๕๔๓/๒๕๔๔
ใช้สี เตือนภัย ใช้สีแสดง ความเข้มข้น ใช้ตาราง เพื่อความ แม่นยำ b016 ใช้แผนที่ เพื่อให้เห็น ภาพรวม

50 ผลผลิตข้าวนาปีต่อไร่ พ.ศ. ๒๕๔๓/๒๕๔๔
กำหนดค่า ต่ำสุดและสูงสุด ของการใส่สีได้ b017 productivity

51 การพัฒนา MOC แบบงานคู่ขนาน
งาน Top down Vision, Mission Strategies, Goals, Logical Diagram ผู้ปฏิบัติบอกว่า มีข้อมูลอะไร อยู่แล้วบ้าง Search-engine Metadata Operational Database งาน Bottom up ผู้บริหารบอกว่า อยากได้อะไร

52 Thank you for your attention.
Sawasdee Thank you for your attention. โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศภาครัฐ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


ดาวน์โหลด ppt แผน/นโยบาย ICT กับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google