ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWipa Thanom ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 414
ผู้สอน อาจารย์พรประภา แสนหลวง โทร
2
เนื้อหารายวิชา หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การพัฒนาการเกษตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายและความสำคัญของการเกษตร หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การผลิตพืช หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น หน่วยการเรียนรู้ที่ 4การผลิตสัตว์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การพัฒนาการเกษตร
3
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเก็บ : คะแนนสอบ 60 : 40
คะแนนเก็บ : คะแนนสอบ 60 : 40 คะแนนสอบกลางภาค 20 และ ปลายภาค คะแนนเก็บ - สอบภาคปฏิบัติ 10 ปฏิบัติ (ลงแปลง เลี้ยงสัตว์และรายงาน) 20 จัดสวน - แต่งกาย - ส่งงาน รวม
4
อาคาร 2 แปลงปฏิบัติ นักเรียนระดับ ม.5.1-5.4 ทั้งหมดจำนวน 20 แปลง
ลานพระ อาคาร 2 ทานตะวัน 5.1 5.2 5.3 5.4 จัดแบ่งตามเหมาะสม ปลูกผัก
5
คะแนนจัดสวน 10 คะแนน ตามที่มอบหมาย (ร่วมกับโครงการโรงเรียนสวยด้วยมือเรา) บริเวณที่ รับผิดชอบ หน้าอาคาร 3 เน้นสวยงาม ความคิดสร้างสรรค์และประหยัด อาคาร 3
6
การแต่งกายขณะปฏิบัติ
ชุดพละ (เสื้อโรงเรียน) รองเท้าบู้ทยางสีดำ หรือน้ำตาล หมวกกันแดด (ไม่ใช่ร่มแบบถือ) ถุงมือ(ถ้ามี) ยาง หรือผ้าก็ได้
7
กิจกรรมที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน
8
ทำงานกลุ่ม ระดมความคิด
กิจกรรมที่ 2 ทำงานกลุ่ม ระดมความคิด
9
ความหมายของการเกษตร การเกษตร หมายถึง การผลิตทางพืช สัตว์ ป่าไม้การประมง ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปัจจัยสี่ของมนุษย์นั่นเอง (พนิช,2527) การเกษตร คือ การปฏิบัติกับที่ดินเพื่อให้เกิดผลผลิต ทั้งการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ การทำประมง และการเกษตรผสมผสานโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และเงินทุน เพื่อให้พืชและสัตว์เจริญเติบโตให้ผลผลิตต่างๆ (มปป.) เกษตรกรรม (อังกฤษ: Agriculture) หมายถึง กระบวนการผลิตอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยวิธีการเพาะปลูกพืช มีชื่อเรียกเฉพาะว่า "กสิกรรม" และวิธีการเลี้ยงสัตว์ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำ อย่างเป็นระบบ ผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเรียกว่า เกษตรกร (สารานุกรมเสรี,2554.)
10
ดังนั้นการเกษตร จึงหมายรวมถึงการทำการผลิตทั้งพืช สัตว์ ประมง เพื่อให้เกิดผลผลิตตามที่มนุษย์ต้องการนั่นเอง ทั้งอาจทำเพื่อเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตอันได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค หรืออาจทำการผลิตเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงการค้าแล้วแต่วัตถุประสงค์ โดยผู้ประกอบอาชีพการเกษตร(ปลูกพืช เลียงสัตว์และประมง ) เราเรียกว่า เกษตรกร และผู้ประกอบอาชีพเพาะปลูกพืช เราเรียก กสิกร
11
ประเภทของการเกษตร (1.) ไม้ดอกไม้ประดับ พืชสวน (2.) พืชผัก
(1.) ไม้ดอกไม้ประดับ พืชสวน (2.) พืชผัก 1. กสิกรรม การปลูกพืช (3.) ไม้ผล พืชไร่ 2. ปศุสัตว์ 3.1 การทำประมงน้ำจืด 3.2 การทำประมงน้ำเค็ม หรือการทำประมงทะเล 3.3 การทำประมงน้ำกร่อย 3. การประมง 4.1 เกษตรทฤษฎีใหม่ 4.2 การเกษตรแบบยังชีพ 4.3 การเกษตรธรรมชาติ 4.4 การเกษตรแบบยั่งยืน คือ การเกษตรที่เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อรักษาดุลยภาพทางธรรมชาติและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม 4. การเกษตรแบบผสมผสาน
12
สาขาวิชาที่เกี่ยวกับการเกษตร
วิขาเกษตร (Agriculture) เป็นชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Biological Science) มีหลากหลายสาขาวิชามากมาย เช่น พืชศาสตร์ – Plant Science (พืชสวน พืชไร่) ,โรคพืช, กีฏวิทยา, ปฐพีวิทยา, ประมง, สัตวศาสตร์ ส่งเสริมการเกษตร ,ช่างกลเกษตรหรือวิศวกรรมเกษตร ,เศรษฐศาสตร์เกษตร, ศึกษาศาสตร์เกษตร,อุตสาหกรรมเกษตร เป็นต้น
13
ความสำคัญของการเกษตร
การเกษตรเป็นแหล่งที่มาของปัจจัย 4 เป็นแหล่งท่องเที่ยว รักษาสมดุลทางธรรมชาติ การเกษตรมีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจของประเทศ สร้างอาชีพการเกษตรช่วยให้ประชากรของแต่ละประเทศมีงานทำ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ
14
“...เศรษฐกิจของเราขึ้นอยู่กับการเกษตรมา แต่ไหนแต่ไรแล้ว รายได้ของประเทศที่ได้มาใช้สร้างความเจริญ ต่างๆ เป็นรายได้จาก การเกษตรเป็นส่วนใหญ่ จึงอาจกล่าวได้ว่า ความเจริญของประเทศต้อง อาศัยความเจริญของเกษตรเป็นสำคัญ...” ความตอนหนึ่งในพระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๒๙
16
สุดท้าย นักเรียนมีความคิดเห็น และควรเตรียมความพร้อมในภาคของการเกษตรอย่างไรต่อการเปิดโลกอาเซียน ตามความคิดเห็นของตนเอง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.