งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP

2 การศึกษาลักษณะทางพยาธิวิทยาของ ผู้ป่วยที่ตรวจพบ Cervical Lymphadenopathy ซึ่งได้จากการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก ปี

3 ชื่อผู้ทำการวิจัย นสพ. ธีราภา ชาญกูล รหัส 41460163
นสพ. ธีราภา ชาญกูล รหัส นสพ. ลินดา แซ่โง้ว รหัส นสพ. สุภัค ชุติไพจิตร รหัส

4 หลักการและเหตุผล เนื่องจากมีผู้ป่วย CERVICAL LYMPHADENOPATHY จำนวนมากในโรงพยาบาลพุทธชินราช ที่ได้รับการวินิจฉัยลักษณะทางพยาธิวิทยาจากการทำ CERVICAL LYMPHNODE BIOPSY จากการตรวจทาง Histoโดยวิธี H&E staining และการตรวจพิเศษบางชนิดเพิ่มเติม ผู้วิจัยเห็นความสำคัญของการรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY และต้องการทราบถึงลักษณะทางพยาธิวิทยาที่ตรวจพบในผู้ป่วยเหล่านี้ โดยแบ่งตามช่วงอายุของผู้ป่วยทั้งหมด และแยกเพศชายและหญิง โดยบันทึกเป็นตารางแสดง จำนวน,อัตรา,กราฟแสดงความสัมพันธ์ดังกล่าวในผู้ป่วยที่ทำ CERVICAL LYMPNODE BIOPSY ในปี ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการช่วยแพทย์วินิจฉัยเบื้องต้น และวางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป

5 REVIEW LITERATURE ลักษณะทาง Anatomy ของ CERVICAL LYMPHNODE
นิยามของ lymphadenopathy,biopsy และ คำศัพท์ต่างๆที่ใช้ในการศึกษาทางพยาธิวิทยาของ ต่อมน้ำเหลือง ลักษณะทางพยาธิวิทยาของ Cervical lymph node biopsy ที่ตรวจพบในโรงพยาบาลพุทธชินราช วิธีการทำ CERVICAL LYMPH NODE BIOPSY แต่ละวิธี และขั้นตอนการทำทางพยาธิเพื่อให้ได้ผลการวินิจฉัย สรุปผลการศึกษาจากงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง

6 LYMPHADENOPATHY นิยาม : เป็นภาวะที่ต่อมน้ำเหลืองโต โดยกำหนดว่าเป็นผู้ที่มีต่อมน้ำเหลืองที่โตเกินกว่า 1 cm. และอยู่นานกว่า 2-3 สัปดาห์ หลักการ Approach ผู้ป่วย 1. LOCALIZED LYMPHADENOPATHY : - Infection - Malignancy 2. GENERALIZED LYMPHADENOPATHY - Infection - Immune disease - Hematologic malignancy - others.

7 METHOD LYMPHNODE BIOPSY : PROCESS * Routine histopathology
1. EXCISIONAL BIOPSY 2. INCISIONAL BIOPSY PROCESS LYMPHNODE BIOPSY SECTION 5-6 u FIXATION STAINING MICROSCOPIC * Routine histopathology * Histochemistry * Immunohistochemistry

8

9 REVIEW LITERATURE วัยผู้ใหญ่ : พบมากที่สุด คือ Benign ( TB Lymphadenitis ) ในกลุ่ม Malignant พบ Metastasis มากกว่า Lymphoma และในกลุ่ม Lymphoma พบ Non-Hodgkin มากกว่าHodgkin วัยเด็ก : พบมากที่สุด คือ Benign ( infection ) ในกลุ่ม Malignant เช่นเดียวกับในวัยผู้ใหญ่ บางงานวิจัยในวัยผู้ใหญ่ อาจพบ reactive hyperplasia

10 วัตถุประสงค์ เพื่อทราบถึงอัตราการพบลักษณะพยาธิวิทยาแต่ละชนิด
ที่ตรวจพบได้ในผู้ป่วยที่มี Cervical Lymphadenopathyจากการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราชตั้งแต่ ปี โดยแบ่งตามเพศ และแบ่งเป็นช่วงอายุต่าง ๆ

11 RESEARCH QUESTION คำถามหลัก
ลักษณะทางพยาธิวิทยาชนิดใดบ้างที่ตรวจพบในผู้ป่วย CERVICAL LYMPHADENOPATHY ซึ่งได้รับการทำ Cervical lymphnode biopsy ในโรงพยาบาลพุทธชินราช ปี

12 RESEARCH QUESTION คำถามรอง ลักษณะทางพยาธิวิทยาแต่ละชนิดมีจำนวนเท่าใด
ลักษณะทางพยาธิวิทยาชนิดใด พบมากที่สุดในแต่ละ ช่วงอายุ และแบ่งตามเพศ

13 รูปแบบการวิจัย กำหนด ผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY
และทำ CERVICAL LYMPHNODE BIOPSY ใน โรงพยาบาลพุทธชินราช ปี

14 รูปแบบการวิจัย รูปแบบ Applied Medical research
พรรณนาปรากฏการณ์ (case series) OBSERVATIONAL STUDY DESCRIPTIVE STUDY (RETROSPECTIVE 2ปีย้อนหลัง)

15 STUDY DESIGN A. TARGET POPULATION
ผู้ป่วยที่ทำ Cervical Lymphnode biopsy ในโรงพยาบาล พุทธชินราช ปี Inclusion criteria ผู้ป่วยที่มี CERVICAL LYMPHADENOPATHY และได้รับการทำ Cervical Lymph node biopsy ที่แผนกพยาธิวิทยาโรงพยาบาลพุทธชินราช ปี Exclusion criteria กลุ่มที่ตรวจไม่พบความผิดปกติของ CERVICAL LYMPHADENOPATHY , กลุ่มที่เป็นมะเร็งของศีรษะและ ลำคอที่ทำ radical dissection และกลุ่มที่ไม่ได้รับการวินิจฉัย

16 STUDY DESIGN B. SAMPLING SIZE
ผู้ป่วยทุกรายที่มี CERVICAL LYMPHADENOPATHY และได้ทำ CERVICAL LYMPH NODE BIOPSY ปี

17 RESEARCH TOOL ตารางเก็บข้อมูล
Tools : การรวบรวมข้อมูลลักษณะทางพยาธิวิทยาจากการทำ Cervical Lymph node Biopsy ในผู้ป่วยที่ตรวจพบ CERVICAL LYMPHADENOPATHY ในปี พ.ศ จากแผนกพยาธิวิทยา โรงพยาบาลพุทธชินราช

18

19 ตารางแสดง อัตราการพบลักษณะทางพยาธิวิทยาของผู้ป่วยที่ตรวจพบ Cervical Lymphadenopathy ซึ่งได้จากการทำ Cervical biopsy ในช่วงอายุต่างๆ อายุ (ปี) Benign Malignancy Reactive Granulomatous inflam Lymphoma Metas อื่นๆ รวม Hyperplasia TB Fungus etc Hodgkin Non-H 0-19 20-39 40-59 60-79 >79 รวม

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30 บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย
ลักษณะทางพยาธิวิทยาที่ตรวจพบ cervical lymphadenopathy ซึ่งได้จาก การทำ cervical lymph node biopsy ใน โรงพยาบาลพุทธชินราช จ. พิษณุโลก 1. Reactive hyperplasia 2. Granulomatous inflammation : TB, fungus, etc. 3. Malignant lymphoma : Non-Hodgkin & Hodgkin 4. Malignant metastasis

31 บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย
ลักษณะทางพยาธิวิทยาในแต่ละช่วงอายุ 0-19 ปี พบ Reactive hyperplasia มากที่สุด 20-39 ปี พบ Granulomatous inflammation with TB มากที่สุด 40-59 ปี พบ Malignant metastasis มากในเพศชาย และ Reactive hyperplasia มากในเพศหญิง 60-79 ปี พบ Malignant metastasis มากที่สุด > 79 ปี พบ Malignant metastasis มากที่สุด

32 บทวิจารณ์และสรุปผลการวิจัย
ลักษณะทางพยาธิวิทยาแต่ละชนิด Reactive hyperplasia ปี Granulomatous inflammation ปี Malignant lymphoma ปี Malignant metastasis ปี

33 EXPECTED OUTCOME เพื่อเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยเบื้องต้นและวางแผนการรักษาได้อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการศึกษาและพัฒนางานต่อไป ในอนาคต เพื่อใช้เป็นความรู้ในการปฏิบัติทางเวชปฏิบัติต่อไป

34 ข้อเสนอแนะ 1. ขาดข้อมูลที่จำเป็นบางอย่าง
2. ผู้วิจัยขาดความชำนาญในการใช้ โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล 3. ระยะเวลาในการทำวิจัย

35

36

37 THE END Thank you…


ดาวน์โหลด ppt RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google