งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช

2 ทบทวนวรรณกรรม จาก Principle and practice of infection disease โดย Mandell ( 4 th edition, 1995 )  พบว่า UTI เป็น most common infection ที่พบในโรงพยาบาล ประมาณ 80% ของ nosocromial UTI จะเกิดกับ ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

3 ปัจจัยเสี่ยง เพศ อายุ โรคเดิม ระยะเวลาการใส่ cath การดูแลสาย cath

4 @ พบว่า ผู้ป่วย % ขอแงผู้ป่วยโรคทั่วไปที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ ส่วนใหญ่เป็นแบบ short term ( mean = 2 วัน % ของผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะเป็น Short term เชื้อที่พบบ่อย คือ E. Long term เชื้อที่พบบ่อย คือ P. aeruginosa & P. mirabilis

5 จาก Color Atlas & Text of Clinical Medicine โดย Jackson ( 2 nd edition , 1997 ) พบว่าอุบัติการณ์การเกิด UTI # ในเพศหญิงจะเพิ่มขึ้นตามอายุ # เพศชายพบสูงใน Neonatal period พบน้อยใน Childhood & Adult # เพศหญิง > เพศชาย # พบมากใน Advancing age

6 จากการศึกษาระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดโรงพยาบาลบุรีรัมย์ 2539 พบว่า $ อุบัติการณ์พบร้อยละ $ ระยะเวลาเฉลี่ยที่พบ UTI คือ 6.5 วัน $ จำนวนวันที่คาสายสวนปัสสาวะ และมีการเกิด UTI สูงสุด คือ 6 วัน $ อัตราการเกิด UTI ระหว่าง ชาย:หญิง = 1:2

7 คำถามหลัก อุบัติการณ์การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดเป็นอย่างไร คำถามรอง 1. ชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด UTI คืออะไร 2. ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะต่อ การติดเชื้อ แยกตามเพศอายุเป็นอย่างไร

8 3. ความแตกต่างในอุบัติการณ์การเกิด UTI ในแต่ละแผนกเป็นอย่างไร 4
3. ความแตกต่างในอุบัติการณ์การเกิด UTI ในแต่ละแผนกเป็นอย่างไร 4. โรคเดิมของผู้ป่วยมีความสัมพันธ์กับการเกิด UTI ในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะหรือไม่ 5. อัตราการเกิด UTIมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใส่สายสวนของบุคลากรหรือไม่

9 วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาระยะเวลาอุบัติการณ์การติดเชื้อและชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของ UTIในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิด ของโรงพยาบาลพุทธชินราช

10 METHOD Descriptive Retrospective Study ระยะเวลา กรกฎาคม -สิงหาคม 2543
METHOD Descriptive Retrospective Study ระยะเวลา กรกฎาคม -สิงหาคม การเลือกกลุ่มตัวอย่าง Inclusion Criteria 1. Pt. ที่คาสายสวนปัสสาวะใน Med , Surg , Obs , Gyne , Ped 2. Pt. ที่ไม่ได้รับการ Dx. UTI , UA แรกรับปกติ

11 Exclusion Criteria 1. Pt. ที่มีไข้ก่อนใส่สายสวนปัสสาวะ 2
Exclusion Criteria Pt.ที่มีไข้ก่อนใส่สายสวนปัสสาวะ Abnormal UA at admission Sampling technique Perposive sampling Sample size * Pt. ทุกรายที่มีการคาสายสวนปัสสาวะตั้งแต่ เดือน ก.ค. - ส.ค. 2543

12 * การสังเกตการทำหัตถการการใส่สายสวนปัสสาวะตามหอผู้ป่วยต่างๆ หอละ 20 ครั้ง เกณฑ์การวินิจฉัย UTI ตามเกณฑ์ของ CDC Temp. > 38 C ร่วมกับ พบเชื้อในปัสสาวะ > Temp. > 38 C ร่วมกับ Pyuria ( WBC > 3 / HPF ) 3. Gram strain positive 4. U/C พบเชื้อ

13 RESULT

14

15

16

17

18

19

20

21

22 Discussion. จำนวน Pt. ที่คาสาย cath =446 ราย. จำนวน Pt
Discussion จำนวน Pt. ที่คาสาย cath =446 ราย จำนวน Pt. ที่เกิด UTI = 52 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์ร้อยละ 11.66

23 อุบัติการณ์การติดเชื้อ เพศหญิง = 5. 6 เพศชาย = 6. 05 แผนกอายุรกรรม =8
อุบัติการณ์การติดเชื้อ เพศหญิง = 5.6 เพศชาย = 6.05 แผนกอายุรกรรม =8.74 แผนกศัลยกรรม = 2.91

24 @ ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะ=6
@ ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะ=6.9 วันที่เกิด UTI มากที่สุด = วันที่ 3 ของการคา ช่วงอายุที่พบ UTI มากที่สุด = ปี ( เชื้อที่พบมากที่สุด = E. Coli ( % Underlying disease ที่พบมากที่สุด คือ โรคที่เกี่ยวกับ ระบบประสาท ( % )

25 Recomendation

26 THE END


ดาวน์โหลด ppt งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google