งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่ม ๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่ม ๕."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่ม ๕

2 Literature review งานวิจัยนี้ยังไม่มีการศึกษามาก่อนมีเพียงวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเช่น สาเหตุเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นในโรงพยาบาลนพรัตน์ ,การศึกษาความถูกต้องในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยในของโรงพยาบาลพุทธชินราช ,Is the diagnosis yield of endoscopy improved by the use of explicit panel based2 และMost common cause UGIB3 ผู้วิจัยมีความสนใจในความถูกต้องในการวินิจฉัยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น เนื่องจากเป็นภาวะฉุกเฉินที่มีอัตราตายสูง

3 คำถามหลัก อาการและอาการแสดงแต่ละอันที่พบได้ในภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นช่วยในการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้องมากน้อยเพียงใด

4 คำถามรอง 1. อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย 3 อันดับแรกของผู้ป่วย UGIB ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราชคืออะไร ?

5 2. อัตราส่วนของผู้ป่วยUGIBระหว่างเพศชายกับเพศหญิงคืออะไร?

6 วิธีวิจัย 1. เริ่มจากไปหาทะเบียนประวัติที่แผนกเวชระเบียนแล้วขอข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น PU & DU Malignancy CA rectum CA colon Gut obstruction Vulvulus Adhesion Intussusception

7 Anal fissure Rupture of diverticulosis Abdominal aortic aneurism Thalasemia Hemorrhoid Cirrhosis Blunt trauma

8 มาตรการในการคัดเลือก
เป็นจำนวนผู้ป่วยทุกคนมาเข้ารับการรักษาด้วยอาการ hematochezia , hematemesis , melena , iron deficiency anemia

9 มาตรการในการคัดออก ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการส่องกล้อง endoscope
- ผู้ป่วยที่ refer มาจากโรงพยาบาลอื่นและได้รับการส่องกล้องendoscopeมาจากโรงพยาบาลนั้น. - ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะนี้ตั้งแต่แรกรับ. - แพทย์นัด.

10 นิยาม (Definition) Provisional diagnosis : การวินิจฉัยครั้งแรกก่อนส่องกล้อง endoscope. Definite diagnosis :ผลการวินิจฉัยหลังจากส่องกล้อง endoscope ยืนยัน. Hematemesis :อาเจียนเป็นเลือด. Melena: อุจจาระที่ผ่านออกมามีสีดำประกอบด้วยเลือดซึ่งถูกกรดทำปฏิกริยา ทำให้มีสีดำ. Hematochezia: ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด.

11 ผลการศึกษา Subject บันทึกรายชื่อผู้ป่วยจากสมุดทะเบียนโดยดูจาก definite diagnosis ซึ่งคาดว่าจะมา admit ด้วยอาการ hematemesis, hematochezia, melena, abdominal pain , syncope จากทุกหอผู้ป่วยโดยไม่จำกัดอายุ, เพศ และ admit ระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ –31 สิงหาคม พ.ศ.2543

12 ได้ทำการสืบค้นในเวชระเบียนของผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ Hematemesis, Melena, Hematochezia, Abdominal pain ที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาด้วยภาวะ UGIB มีจำนวนทั้งสิ้น 1,312 รายและคัดออกโดย ผู้ป่วยที่refer มาจากโรงพยาบาลอื่นที่มี Difinite diagnosis 0 ราย ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการส่อง endoscope 301 ราย ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะนี้ตั้งแต่แรกรับ 389 ราย สรุปมีผู้ป่วยที่คัดเข้าเพื่อนำไปวิเคราะห์ทั้งสิ้น 622 รายเป็นชาย 392 ราย หญิง 230 ราย

13 ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยUGIBในแต่ละเดือน

14 กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยUGIBในแต่ละเดือน

15 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเพศและอายุของผู้ป่วยUGIB

16 กราฟแสดงความถี่ของผู้ป่วยUGIBในแต่ละช่วงอายุ
(*96) ช่วงอายุ

17 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematemesisกับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

18 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematemesis กับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

19 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอาการ Melenaกับผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าเป็นหรือไม่เป็น UGIB

20 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างMelena กับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

21 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematocheziaกับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

22 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematocheziaกับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

23 ตารางแสดงจำนวนผู้ที่มีอาการ Abdominal pain ใน
ผู้ป่วย UGIB และ Non-UGIB

24 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Abdominal pain กับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

25 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Syncope ในผู้ป่วยที่เป็น UGIBและNon-UGIB

26 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง syncope กับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

27 ตารางสรุปความถูกต้องของอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยUGIHที่มารับการรักษายังโรงพยาบาลพุทธชินราช

28 วิจารณ์ 1. ในงานวิจัยชิ้นนี้มีจำนวน case ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น UGIBและตรวจยืนยันด้วย endoscope ค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับจำนวน case ทั้งหมดที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นUGIB ทั้งนี้เนื่องจาก คนไข้มาถึงโรงพยาบาลตอนกลางคืน, ตรงกับวันหยุด, และเลือดหยุดไหลแพทย์จึงไม่ทำendoscopy 2.เนื่องจากงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาแบบ retrospective ข้อมูลที่ได้จากเวชระเบียนของผู้ป่วยที่เกี่ยวกับอาการและอาการแสดงไม่ครบ ทำให้เกิด selection bias ได้ เนื่องจากแพทย์บางท่านเห็นว่าไม่สำคัญและไม่จำเป็นต้องบันทึกไว้เช่น abdominal pain, syncope

29 3. อาการและอาการแสดงของแต่ละอย่างมีความสำคัญไม่เท่ากัน ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาเฉพาะอาการและอาการแสดงที่เห็นว่าสำคัญ เช่น hematemesis, hematochezia, melena, abdominal pain, syncope 4. มีข้อห้ามในการใส่ endoscope ในเด็ก 5. น่าจะเป็นการศึกษาแบบ Prospective เพื่อลดความผิดพลาดในการบันทึกอาการและอาการแสดงและขอความร่วมมือจากแพทย์ให้ช่วยกรอกอาการและอาการแสดงให้ครบถ้วนชัดเจนและพิจารณาทำ endoscopeทุกรายที่สงสัยว่าจะเป็น UGIB

30 THE END


ดาวน์โหลด ppt กลุ่ม ๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google