ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
2
การเรียกใช้งานหลังจากการเซ็ตค่า Web Server เสร็จ
3
การเขียน ASP script จะขึ้นต้นหรือเปิดด้วย tag
โดยใช้เครื่องหมาย <% และลงท้ายหรือปิดด้วย %> ยกตัวอย่างการเขียน ASP script เช่นหากเราต้องการแสดงวัน-เวลาปัจจุบัน ก็จะใช้ ฟังก์ชัน now ก็จะเขียนดังนี้ วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%> วัน-เวลา ขณะนี้คือ 31/03/ :47:20
4
การแทรกคำอธิบายใน ASP จะแทรกด้วยสัญลักษณ์ ' comment
เช่น <% Dim a,b,c ' ประกาศตัวแปร a=1 ' กำหนดค่าตัวแปร a b=2 ' กำหนดค่าตัวแปร b c=3 ' กำหนดค่าตัวแปร ac %> Test2.asp
5
การจะเขียน ASP script สิ่งที่ต้องศึกษารูปแบบคำสั่งของภาษาอื่นเพิ่มเติม
ภาษา VBScript ภาษา JScript ภาษา HTML <font size=+2 color=green>วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%></font>
6
HTML กับ ASP ASP HTML <html> <body>Hello<hr> 1<br> 2<br> 3<br> 4<br> 5<br> <hr>Bye </body></html> <% response.write( “<html><body>Hello<hr>" ) response.write( “1<br>”) response.write( “2<br>”) response.write( “3<br>”) response.write( “4<br>”) response.write( “5<br>”) response.write( "<hr>Bye</body></html>" ) %>
7
การเขียนเว็บด้วย ASP และ HTML ร่วมกัน
<html> <title> Welcome to <%=request.servervariables("SERVER_NAME")%> </title> <body> Hello<hr> <% for n = 1 to 5 response.write( n & "<br>") next %> <hr>Bye </body></html> Hello Bye
8
ชนิดของตัวแปร Empty ข้อมูลชนิดว่าง คือค่าเป็น 0
Null ข้อมูลว่างๆไม่มีค่าใด ๆ เลย Boolean เป็นข้อมูลทางตรรกะ คือ True กับ False Byte จำนวนเต็ม 0-255Integerจำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 Long จำนวนเต็ม -2,483,147,483 ถึง 2,174,483,647 Double ข้อมูลที่เป็นทศนิยม Date ใช้เก็บวันและเวลา String ใช้เก็บข้อความ Object ตัวแปร Object Error ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในการอ้างถึงคอนโทรลต่าง ๆ
9
การประกาศตัวแปร รูปแบบ
Dim <ตัวแปร> เช่น Dim name หลักการตั้งชื่อตัวแปร 1.ต้องไม่ซ้ำกันในโปรแกรมเดียวกัน 2.ไม่ตรงกันคำสงวน 3.ความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักขระ 4.ต้องเริ่มต้นด้วย A-Z หรือ a-z
10
ชนิดของการประกาศตัวแปร
1.ประกาศโดยใช้ Dim ตัวอย่าง Dim name,surname 2.ประกาศโดยไม่ใช้ Dim ตัวอย่าง name="นายวีระชัย นุกิจรัมย์“ age=21
11
Constant ค่าคงที่ การประกาศค่าคงที่ เป็นการประกาศค่าที่จะใช้ตลอด Application Const <ชื่อค่าคงที่> = <ค่าคงที่> ตัวอย่าง Const CID=
12
การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล
Function Type Data Example Result CInt Integer CInt (" ") 1000 CLng Long CLng (" ") CSng Single CSng (" ") CDbl Double CDbl (" ") CBool Boolean CBool ("1000=1000 ") True CByte Byte CByte (" ") CDate Date CDate ("24 December 70 ") 12/24/70 Cstr String Cstr (" ") " " ตัวอย่าง UTCC = " " UTCC = Cint(UTCC) Output
13
Operator ของ Asp Operator นั้นเป็นการกระทำบางอย่างกับข้อมูล และได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่ง Operator ของ Asp นั้นสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
14
Operator ในการทำงานงานทางคณิตศาสตร์
การกระทำ สัญลักษณ์ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ การบวก + 1+2 3 การลบ - 2-1 1 การคูณ * 2*2 4 การหาร / 7/2 3.5 การหารแบบเต็มจำนวน \ 5\3 การหารแบบเอาเศษ Mod 10 Mod 3 การยกกำลัง ^ 2^4 16
15
Operator ในการทำงานทางตรรกะ
Operator ทางตรรกะจะให้ผลลัพธ์เป็นค่า True และ False ซึ่งรายละเอียดในการแสดงผลทางตรรกะในกรณีต่างๆ มีดังนี้ Operator And A B A and B True False สรุป ถ้าเป็นOperator And จะเป็น True กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น True
16
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..)
Operator Or A B A or B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Or จะเป็น False กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น False
17
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..)
Operator Xor A B A Xor B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Xor จะเป็น ผลที่ได้ออกมาเป็นดังนี้คือกรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น False แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น True
18
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..)
Operator Eqv A B A Eqv B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Eqv จะเป็น ผลที่ได้ออกมาจะตรงกันข้ามกับ Xor คือ กรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น True แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น False
19
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..)
Operator Imp A B A Imp B True False สรุป Operator Imp จะมีค่าเหมือนกับคำว่า ถ้า....แล้ว ซึ่งถ้าสังเกตตาราง เราสามรถสรุปได้ว่า กรณีที่ผลลัพธ์จะเป็น False นั่นคือ เมื่อ A = True และ B = False เท่านั้น
20
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..)
Operator Not A Not A True False สรุป Operator not จะเป็นการเปลี่ยนค่าที่มีอยู่ในเป็นตรงกันข้าม
21
Operator ในการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลชนิด String
Operator กลุ่มนี้ เป็น Operator ที่ใช้ในการเชื่อมระหว่าง String กับ String เข้าด้วยกัน หรือ ระหว่าง String กับ Numueric ซึ่งมีดังนี้ + = ใช้เชื่อม String กับ String & = ใช้เชื่อม String กับ Numeric หรือ String ก็ได้เช่นกัน
22
ตัวอย่าง อีกสักตัวอย่าง "ASP" + "Chapter.com" ผลที่ได้ ASP Chapter.com
X = "Hello" Y = 5 Z = "Times" W = X&Y&Z ผลลัพธ์ที่ได้ Hello 5 times
23
Operator ในการเปรียบเทียบ
สัญลักษณ์ ความหมาย รูปแบบการใช้งาน = เท่ากับ A = B <> ไม่เท่ากับ A <> B < น้อยกว่า A < B > มากกว่า A> B <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A<= B >= มากกว่าหรือเท่ากับ A>=B
24
การประกาศตัวแปร Array
Dim A(5) 'ประกาศตัวแปร Array A(0),A(1),A(2),A(3),A(4),A(5) การกำหนดค่าให้กับ Array A(0)=4 A(1)=9 A(2)=5 A(3)=6 A(4)=3 A(5)=1 การประกาศตัวแปร Array หลายมิติ Dim B(2,5) 'Array 2 มิติ Dim C(2,4,8) 'Array 3 มิติ
25
Sample <% myarray = array("A", "B", "C", "D") %> <% =myarray(0) %> <br> <% =myarray(1) %> <br> <% =myarray(2) %> <br> <% =myarray(3) %> <br> Out Put A B C D
26
Sample <% myarray = array(111, 222, 333, 444, 555) %> <% =myarray(0) %> <br> <% =myarray(1) %> <br> <% =myarray(2) %> <br> <% =myarray(3) %> <br> <% =myarray(4) %> <br> Out Put
27
ตัวอย่างการใช้ Array เพื่อตรวจสอบคำหยาบ
<% msg="ช้างน้ำ หมู่ป่า" ' สร้างตัวแปรที่รับข้อมูลเข้ามา badtext = array("ช้างน้ำ","หมูป่า","เก้ง","กระทิง","ไก่") ' ประกาศตัวแปร badtext เป็นอาร์เรย์ที่มีคำหยาบอยู่ภายใน b = 0 For a = 0 to Ubound(badtext) if InStr(msg , badtext(a)) <> 0 then %> 'เปรียบเทียบระหว่างตัวแปรกับข้อมูลอาร์เรย์ พบคำหยาบคำว่า "<%=badtext(a)%>"<br> %> <%Else b = b End if Next if b = Ubound(badtext) + 1 then %> คุณเป็นคนน่ารักมาก ไม่มีคำหยาบเลย <%End if%>
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.