งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ยินดีต้อนรับ นิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2552 วันอาทิตย์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

2 นโยบายการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทาง
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

3 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2540

4 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) B. Eng (Electrical Engineering)
เปิดสอนใน 2 สาขาวิชาในระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) B. Eng (Electrical Engineering) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) B. Eng (Computer Engineering) ภาคปกติ/ภาคพิเศษ ระดับปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) Master of Engineering (Electrical Engineering) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) Master of Engineering (Computer Engineering) ปี 2553

5 คณาจารย์ในภาควิชา มีอาจารย์ทั้งหมด 27 คน แยกตามคุณวุฒิได้ดังนี้ ป.ตรี
มีอาจารย์ทั้งหมด 27 คน แยกตามคุณวุฒิได้ดังนี้ ป.ตรี ระดับปริญญาเอก 16 คน ป.เอก ป.โท ระดับปริญาโท 10 คน ระดับปริญญาตรี 1 คน

6

7 การจัดการเรียนการสอน
ภาควิชาได้จัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับ 1. หลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) หน่วยกิตรวมไม่เกิน 150 หน่วยกิต 2. หลักเกณฑ์ของสภาวิศวกร กลุ่มวิชาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ

8 ใช้ระบบการจัดการศึกษา แบบทวิภาค ภาคการศึกษาปกติ ซึ่งเป็นภาคบังคับ มีระยะเวลาเรียน 16 สัปดาห์ ภารเรียนต้น: มิถุนายน ถึง กันยายน ภารเรียนปลาย: พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์ ภาคฤดูร้อน ซึ่งเป็นภาคการศึกษาไม่บังคับ มีระยะเวลาเรียน 8 สัปดาห์ อยู่ในช่วง มีนาคม ถึง เมษายน

9 โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า (ป.ตรี)
หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. (หน่วยกิต) หลักสูตร พ.ศ. 2551 ศึกษาทั่วไป 30 เฉพาะสาขา 84 114 เลือกเสรี 6 บังคับไม่นับ หน่วยกิต - (6) รวม 120 150

10 บังคับไม่นับหน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ป.ตรี) หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. (หน่วยกิต) หลักสูตร พ.ศ. 2551 ศึกษาทั่วไป 30 เฉพาะสาขา 84 104 เลือกเสรี 6 บังคับไม่นับหน่วยกิต - (6) รวม 120 140

11 บังคับไม่นับหน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า (ป.โท) หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. (หน่วยกิต) หลักสูตร พ.ศ. 2551 งานรายวิชา 24 28 วิทยานิพนธ์ 12 บังคับไม่นับหน่วยกิต - (3) รวม 36 40 เพื่อที่จะสำเร็จการศึกษา ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือ สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ที่เป็นที่ยอมรับในสาขานั้น

12 ฝึกงานทางด้านวิศวกรรม
ไฟฟ้า หรือ คอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ด้าน วิชาการ และทักษะที่เกี่ยวข้อง นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนวิชาฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 270 ชั่วโมง เพื่อให้คุ้นเคยวัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน และสร้างพันธมิตร กับผู้ประกอบการ หรือองค์กรภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน

13 การดูงานทางวิศวกรรม ไฟฟ้า หรือ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ให้นิสิตเข้าใจและเห็นความสำคัญในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ให้นิสิตมีโอกาสเห็นสภาวะการจริงในขณะปฏิบัติงาน และสามารถนำประสบการณ์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้

14 โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า
หรือ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประมวลความรู้ที่ได้เรียนมาเข้าด้วยกัน ฝึกให้นิสิตมีความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นระบบ มีความคิดริเริ่ม เพื่อให้นิสิตรู้จักการทำงานรวมกันเป็นทีม

15 ให้นิสิตมีความสามารถในการเขียนเอกสารทางวิชาการ โครงงานอาจจะอยู่ในรูปของการสร้างชิ้นงาน การศึกษาทฤษฎีที่ได้เรียนมา การพัฒนาโปรแกรม การปรับปรุงขบวนการต่างๆ หรือในลักษณะอื่น

16 โครงงานหุ่นยนต์ เดินสองขา BIPED
เป็นการออกแบบจุดศูนย์ถ่วงในการเดินแบบสถิตย์ ควบคุมโดยอาศัยชุดไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถพัฒนาเป็นแบบเวลาจริง (real time) ได้

17 ห้องปฏิบัติการภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า ห้องปฏิบัติการเครื่องมือวัดพื้นฐาน ห้องปฏิบัติการระบบควบคุม ห้องปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร์ ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าสื่อสาร ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องวิจัย

18 ห้องปฏิบัติการ เครื่องจักรกลไฟฟ้า
ชุดทดลองเครื่องกลไฟฟ้า LAB-VOLT Bench Top Console 9 ตัว Synchronous Motor / Generator 3 ตัว DC Motor / Generator 9 ตัว 3 Phase Wound Rotor Induction Motor 3 ตัว

19 ห้องปฏิบัติการ เครื่องมือวัด พื้นฐาน
Board Digital MDX ตัว Digital Multi-meter HP 25 ตัว Function Generator HP 24 ตัว DC Power Supply HP 25 ตัว Oscilloscope YOKOGAWA 20 ตัว

20 ห้องปฏิบัติการ ระบบควบคุม
Process Controller ชุด Pneumatic System BOSCH 46 ตัว Twin Rotor System Pressure Process System ชุดทดลองซีเควนเชียลคอนโทรล ชุดแขนกล

21 ห้องปฏิบัติการ ไมโครโปรเซสเซอร์
Board MCS v ตัว ET Training CP3 20 ตัว ETT CP-68HC11 20 ตัว Digital Laboratory DT Plus 17 ตัว Board Analab Digital Lab EPROM Eraser ERA-02

22 ห้องปฏิบัติการ ไฟฟ้าสื่อสาร
ชุดทดลองไฟฟ้าสื่อสาร Feedback 6 ตัว ชุดทดลองท่อนำคลื่น Spectrum Analyzer Multi-standard Voice Band Modem ชุดทดลองสายอากาศ Waveform Synthesis

23 ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ 120 ตัว โปรแกรมสนับสนุนการศึกษา เช่น Visual Studio.NET 2005 Visual Studio 6.0 MATLAB 7 Trysim PSIM Pspice MAXPLUS II

24 ห้องวิจัย วิศวกรรมไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์
ทุนวิจัย สวทช. NECTEC ทุนวิจัย สกว งานวิจัยเกี่ยวกับ Harddisk drive ร่วมกับบริษัทเอกชนต่างๆ ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ทุนวิจัยร่วมกับผู้ประกอบการสนับสนุนโดยโครงการ IRPUS

25 ห้องปฏิบัติการระบบยูนิกส์ (Unix Lab 2553)
Linux PC Cluster 50 Workstations

26 ห้องปฏิบัติการมัลติมีเดีย (2553)
Multimedia PC: #60 High performance PC: #20 Application/Files Servers: #12 Networking equipments

27 ขอขอบคุณ คณะอาจารย์ ผู้ปกครอง และนิสิตใหม่
Q & A


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google