งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาควิชาวิศวกรรมโยธา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

2 ผังโครงสร้างภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ดร.ศิริชัย - ดร.กำพล -รศ.วิชัย -ชัยวัฒน์ - ดร.รัฐภูมิ อ.บุญพล - ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ - อ.วรางค์ลักษณ์ - อ.อำพล - อ.ชัยวัฒน์ - ดร.ปรีดา - อ.ธนวัฒน์ - วิชญา - ทิวาโย -ลูกน้ำ - อ.ภัคพงศ์ ผศ.ดร.ปาจรีย์ - ผศ.ดร.ดลเดช - อ.กรกฏ - รศ.ดร. ศรินทร์ทิพย์ รศ.ดร.สมบัติ ผศ.ทิพย์วิมล - ดร.ดุษฎี -กาลไกล - อภิชาติ - ผศ.ดร. อุดมฤกษ์ - ผศ.ดร.สสิกรณ์ - ผศ.ดร.สรัณกร ดร.ปฤษทัศว์ ผังโครงสร้างภาควิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา หัวหน้าภาค รองหัวหน้าภาค ครูช่าง คณาจารย์ เลขานุการ นักวิทยาศาสตร์ ทรัพย์น้ำ โครงสร้าง ก่อสร้าง ปฐพี สิ่งแวดล้อม ขนส่ง

3 บุคลากรภาควิชาวิศวกรรมโยธา เจ้าหน้าที่บริหารงาน
บุคคลากร จำนวน ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี ปวส. ลาศึกษาต่อ รวม อาจารย์ รศ.ดร.สมบัติ ชื่นชูกลิ่น รศ.ดร.ศรินทร์ทิพย์ แทนธานี ผศ.ดร.อุดมฤกษ์ ปานพลอย ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ แตะกระโทก ผศ.ดร.ดลเดช ตั้งตระการพงษ์ ผศ.ดร.ปาจรีย์ ทองสนิท ผศ.ดร.สรัณกร เหมะวิบูลย์ ผศ.ดร.สสิกรณ์ เหลืองวิชชเจริญ ดร.ศิริชัย ตันรัตนวงศ์ ดร.ปฤษทัศว์ ศีตะปันย์ ดร.กำพล ทรัพย์สมบูรณ์ ดร.ปรีดา พิชยาพันธ์ ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา ดร.ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต ผศ.ทิพย์วิมล แตะกระโทก อ.อำพล เตโชวาณิชย์ อ.บุญพล มีไชโย อ.ภัคพงศ์ หอมเนียม อ.วรางค์ลักษณ์ ซ่อนกลิ่น อ.ชัยวัฒน์ โพธิ์ทอง อ.ธนวัฒน์ พลพิทักษ์ชัย อ.กรกฎ นุสิทธิ์ 23 14 8 1 นักวิทยาศาสตร์ ครูช่าง วิชญา อิ่มกระจ่าง 1 อภิชาติ สุโยธีธนรัตน์ ชัยวัฒน์ กล่ำแย้ม 3 กาลไกล วรินทร์ ลูกน้ำ มากลิ่น ทิวาโย ธูปเทียน เจ้าหน้าที่บริหารงาน ทั่วไป 2

4 โครงสร้างนิสิตภาควิชาวิศวกรรมโยธา
หลักสูตร ปริญญาตรี 4 ปี (วศ.บ.) หลักสูตรปริญญาโท 2 ปีและ ไตรภาค 3 ปี (วศ.ม.) วิศวกรรมโยธา (ภาคปกติ+พะเยา) (ภาคพิเศษ) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ) วิศวกรรมบริหารงาน ก่อสร้าง (ภาคพิเศษ) วิศวกรรมโยธา (ภาคปกติ) วิศวกรรม จัดการโครงสร้างพื้นฐาน(ภาคพิเศษ)

5 หลักสูตรปริญญาตรี 2548-ปัจจุบัน
หลักสูตรปริญญาตรี ปัจจุบัน ลำดับที่ หมวดวิชา เกณฑ์ สกอ. โครงสร้างหลักสูตร 1 2 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะสาขา 2.1  กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 2.2  กลุ่มวิชาพื้นฐานทางภาษา 2.3  กลุ่มวิชาแกนวิศวกรรมโยธา 2.4  กลุ่มวิชาบังคับเฉพาะสาขา วิศวกรรมโยธา 2.5 กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะสาขา วิศวกรรมโยธาหมวดวิชาเลือกเสรี วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต - ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 30 หน่วยกิต 114 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต 3 หน่วยกิต 20 หน่วยกิต 61 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต (6)  3  4 รวม จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร 120 – หน่วยกิต 150 (6) หน่วยกิต

6 แผนการศึกษา

7

8

9

10 ผังหลักสูตรปริญญาตรี
ปี 1 ภาคต้น ภาคปลาย ปี 2 ภาคต้น ภาคปลาย

11 วิศวกรสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาล
Structural Analysis I, II Mechanics of Material I, II Civil Engineering Materials & Testing Reinforce Concrete Design I, II Design of Timber and Steel Concrete Technology I Prestressed Concrete Design วิศวกร โครงสร้าง วิศวกร สำรวจ วิศวกรปฐพี Surveying Applied Surveying Airphoto Interpretation Geology for Engineering Foundation Design Soil Mechanics Highway Engineering Transportation Engineering Highway Materials Traffic Engineering Physics I, II / Chemistry I Calculus I, II, III, IV / Engineering Drawing I, II / Introduction to Computer Engineering Tools & Operations / Information Technology วิศวกร ขนส่ง Engineering Mechanics I, II Fluid Mechanics Hydraulic Engineering Principle of Hydrology Sanitary Unit Process Solid Waste Management Water Supply & Sanitary Engineering Engineering Economics Construction Technique & Management Construction Specification & Construction วิชาพื้นฐาน วิศวกรสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาล วิศวกรโครงการ-บริหารงานก่อสร้าง

12 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ

13 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการปฐพี

14 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการสำรวจ

15 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการคอนกรีต

16 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการชลศาสตร์

17 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการ Highway

18 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการ Highway (ต่อ)

19 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในห้องปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม

20 การขอรับใบอนุญาตฯ ระดับภาคีวิศวกร ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรและสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป หรือที่สำเร็จการศึกษาก่อนหน้านี้ แต่ยังไม่เคยขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ก่อน 1 มกราคม ทุกท่านจะต้องผ่านการทดสอบความรู้ทางวิศวกรรม ซึ่งหลักเกณฑ์การขอรับใบอนุญาตมีดังนี้ 1. จบจากหลักสูตรและสถาบันการศึกษาที่ผ่านการรับรองจากสภาวิศวกร 2. ได้เรียนในหลักสูตร โดยมีรายวิชาและหน่วยกิตตามที่คณะกรรมการสภาวิศวกรกำหนด 3. ต้องผ่านการสอบในหมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมและหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม ซึ่งจัดสอบโดยสภาวิศวกร 4. ต้องผ่านการอบรมและทดสอบความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

21 หมวดวิชาเฉพาะสาขา (วิศวกรรมโยธา)
หมวดวิชาพื้นฐาน 1 Engineering Drawing 2 Engineering Mechanics-Statics 3 Engineering Materials 4 Computer Programming หมวดวิชาเฉพาะสาขา (วิศวกรรมโยธา) 1. Structures Theory of Structures Structures Analysis 2. Structural Design Reinforce Concrete Design Timber and steel Design 3. Soil Mechanics Soil Mechanics 4. Highway Engineering Highway Engineering 5. Hydraulic Engineering Hydraulic Engineering 6. Water Supply Engineering Water Supply and Sanitary Engineering Water Supply Engineering and Design 7. Survey Engineering Surveying Route Surveying Photogrammetry 8. Construction Construction Management Environmental Systems and Management

22 อาจารย์ที่ปรึกษา ปี 2552 สาขาวิศวกรรมโยธา ปริญญาตรี ภาคปกติ (ปี 1)
อาจารย์ที่ปรึกษา ปี 2552 สาขาวิศวกรรมโยธา ปริญญาตรี ภาคปกติ (ปี 1) ดร.ปฤษทัศว์ ศีตะปันย์ ดร.กำพล ทรัพย์สมบูรณ์ รศ.วิชัย ฤกษ์ภูริทัต ดร.ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี

23 อาจารย์ที่ปรึกษา ปี 2552 สาขาวิศวกรรมโยธา ปริญญาตรี ภาคพิเศษ (ปี 1)
อาจารย์ที่ปรึกษา ปี 2552 สาขาวิศวกรรมโยธา ปริญญาตรี ภาคพิเศษ (ปี 1) ปริญญาตรี พะเยา (ปี 3) ดร.ปฤษทัศว์ ศีตะปันย์ ดร.กำพล ทรัพย์สมบูรณ์ ผศ.ดร.อุดมฤกษ์ ปานพลอย อ.บุญพล มีไชโย

24 วิศวกรโยธา ปฏิบัติงานในหลายสาขา
ออกแบบ ประมาณราคา ควบคุมการก่อสร้าง และตรวจสอบสิ่งก่อสร้างทุกชนิดเช่น อาคาร ตึกสูง อนุเสาวรีย์ เจดีย์ ถนน สะพาน ทางรถไฟ อุโมงค์ บ่อบาดาล ทำนบ ฝาย เขื่อน ระบบชลประทาน ระบบประปา ระบบสุขาภิบาล งานวางผังเมือง เส้นทางคมนาคมของชุมชน Structural Engineer (วิศวกรโครงสร้าง) ถนน, สะพาน เขื่อน, ฝาย บ้านเรือน, อาคาร, โกดัง แหล่งน้ำ, ระบบประปา, ระบบบำบัดน้ำเสีย ฯลฯ Highway Engineer (วิศวกรทาง) Environmental-Sanitary Engineer (วิศวกรสิ่งแวดล้อม-สุขาภิบาล) Survey Engineer (วิศวกรสำรวจ) Foundation Engineer (วิศวกรฐานราก) Civil Engineer (วิศวกรโยธา) Transportation Engineer (วิศวกรขนส่ง) Water Resource Engineer (วิศวกรแหล่งน้ำ) Soil Engineer (วิศวกรปฐพี) etc. (ฯลฯ)

25 วิศวกรโยธาและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติงานในหลายหน่วยงาน
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา วิศวกรโยธาและสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติงานในหลายหน่วยงาน หน่วยงานราชการ เช่น กรมโยธาธิการ / กรมทางหลวง / กรมชลประทาน / กรมแผนที่ทหาร ฯลฯ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ เช่น การไฟฟ้า / การประปา ฯลฯ หน่วยงานในภาคเอกชน เช่น บริษัทออกแบบ บริษัทสำรวจ บริษัทรับเหมาก่อสร้าง บริษัทรับควบคุมและตรวจสอบการก่อสร้าง

26 กิจกรรมต่าง ๆของภาควิชาวิศวกรรมโยธา
โครงการฝึกงานสำรวจนอกสถานที่ :

27

28 โครงการโยธาสุ่ชุมชน

29 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (ทำบุญภาควิชาวิศวกรรมโยธา) :

30 โครงการดูงานนอกสถานที่นิสิตปริญญาตรี:

31 การเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการต่างๆ

32

33 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา


ดาวน์โหลด ppt ภาควิชาวิศวกรรมโยธา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google