ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลำโพง (Loud Speaker)
2
ลำโพง เป็นอุปกรณ์ในภาคเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียงทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง (Audio Frequency) ที่ถูกขยายแล้วให้กลับเป็นคลื่นเสียง (Sound Wave) เหมือนเดิมตามธรรมชาติ
3
ชนิดของลำโพงแบ่งตามโครงสร้างภายใน
ลำโพงริบบอน (Ribbon Speaker) ลำโพงไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Speaker) ลำโพงไฮโปลิเมอร์ (Hypolimer Speaker)
4
ลำโพงไดนามิก(Dynamic Speaker)
5
ชนิดของลำโพงแบ่งตามโครงสร้างภายนอก
ลำโพงตู้ (Cabinet Speaker)
6
ลักษณะภายในของ ตู้ลำโพงและลำโพง
7
ลำโพงปากแตร (Horn)
8
แบ่งตามลักษณะการตอบสนองความถี่ของคลื่นเสียง
เสียงทุ้มหรือ วูฟเฟอร์ (Woofer) เสียงกลางหรือมิดเรนจ์ หรือสควอเกอร์ (Midrange or Squawker) เสียงแหลมหรือทวีตเตอร์ (Tweeter) เสียงเต็มช่วงคลื่น หรือฟุลเรนจ์ (Full Range)
9
แบ่งตามสถานที่ติดตั้ง
ภายในอาคาร (Indoor Speaker)
10
ภายนอกอาคาร (Outdoor Speaker)
ทั้งภายนอก และ ภายในอาคาร (Sound Column)
11
แบ่งตามค่าความต้านทาน (Impedance)
4 โอห์ม เป็นลำโพงไดนามิกขนาดเล็กใช้ในเครื่องรับวิทยุหรือเครื่องเล่น-บันทึกเสียง 8 โอห์ม ส่วนมากเป็นลำโพงตู้ที่ประกอบเป็นชุดและมีขั้วให้ต่อกับเครื่องขยายเสียงที่ใช้ตามบ้าน หรือสำนักงาน 16 โอห์ม มักเป็นลำโพงปากแตรสำหรับใช้งานนอกสถานที่
12
การต่อลำโพงเข้ากับเครื่องขยายเสียง
จะต้องต่อให้สมดุล หรือ เข้าชุดกัน(Matching) 2 ประการ คือ ด้านกำลัง (Power) จำนวนวัตต์ของลำโพงแต่ตัวรวมกัน ควรเท่ากันหรือใกล้เคียงกับจำนวนวัตต์ของเครื่องขยายเสียง วัตต์ของเครื่องขยาย จำนวนลำโพง วัตต์ของลำโพง = ด้านความต้านทาน (Impedance) ค่าความต้านทานของลำโพงจะต้องเท่ากับค่าความต้านทานทางด้านเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียง
13
ต่อกับลำโพง 1 ตัว 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 4 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 4 8 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 8 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8 16 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 16 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 16
14
ขั้ว 0 หรือ C จะเป็นขั้วร่วมของลำโพงทุกตัว
ต่อกับลำโพง 1 ตัว 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 4 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 4 8 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 8 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8 16 โอห์ม ลำโพงมีค่าค.ต.ท. 16 โอห์มต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 16
15
ต่อกับลำโพงตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
ต่อแบบอนุกรม 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. หาค่าความต้านทานรวมได้จากสูตร R รวม = R1 + R 2 + R 3 …… R n ค่าความต้านทานรวมที่ได้คือ 16 โอห์ม จึงต่อเข้าที่ ขั้ว 0 กับ 16 ถ้าลำโพงตัวใดขาดลำโพงตัวอื่นจะไม่ดังด้วย ถ้าค.ต.ท.ของลำโพงเท่ากันทุกตัว จะให้กำลังออกเท่ากัน และตัวใดมีค.ต.ท.มากกว่าจะให้กำลังออกมากกว่า
16
ต่อแบบขนาน หาค่าความต้านทานรวมได้จากสูตร + ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 1 …..
4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. R n 1 = ….. R รวม R 2 R 1 R 3 + ต่อแบบขนาน ความต้านรวมเท่ากับ 8 โอห์มจึงต่อเข้าที่ขั้ว 0 กับ 8 ถ้าลำโพงตัวใดขาดตัวอื่นจะยังทำงานปกติ ถ้าค.ต.ท.ของลำโพงเท่ากันทุกตัว จะให้กำลังออกเท่ากัน และตัวใดมีค.ต.ท.ต่ำกว่าจะให้กำลังออกมากกว่าตัวสูง
17
ต่อแบบผสม ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 4 8 16 70V 100V คำนวณหาค่าค.ต.ท.รวมของลำโพงแบบอนุกรมก่อนแล้วจึงมาคำนวณหาค่าค.ต.ท.ทั้งหมดแบบขนาน จากรูปจะได้ค่าค.ต.ท.รวมเป็น 8 โอห์มจึงต่อที่ขั้ว 0 หรือ Common กับ 8
18
การต่อกับลำโพงระยะไกล(สาธารณะ)
ด้วยการส่งแรงดันของสัญญาณขนาด 70 หรือ 100 โวลท์จากภาคเอาท์พุทของเครื่องขยายเสียงไปยัง Matching หรือ Line transformer เพื่อลดแรงดันให้พอดีกับขนาดของลำโพงและส่งเข้าลำโพงเป็นเสียงต่อไป 16 70v 8 4 100v Matching transformer 4 8 16 70V 100V ขั้วต่อลำโพงของ AMP. 8
19
ข้อควรปฏิบัติสำหรับการใช้ลำโพง
ต้องให้ค่า Impedance รวมของลำโพงเท่าหรือใกล้เคียงกับค่าความต้านทานที่ขั้วต่อลำโพงของเครื่องขยายเสียง ค่ากำลังขับ (Watts) ของลำโพงควรเท่าหรือใกล้เคียงกับกำลังขยายของเครื่องขยายเสียง ไม่ควรน้อยกว่าจะทำให้ลำโพงขาดเมื่อเร่งความดัง ควรเลือกขั้วต่อสำหรับไลน์เอาท์พุทกับการติดตั้งลำโพงระยะไกลให้เหมาะกับระยะทางระหว่างเครื่องขยายเสียงกับลำโพง ไม่ควรวางลำโพงไว้หน้าไมโครโฟนจะทำให้สัญญาณย้อนกลับเกิดเสียงหอน (Feedback)
20
ควรตั้งตู้ลำโพงให้สูงในระดับเดียวกับหูของผู้ฟัง
ในกรณีที่มีลำโพงหลายตัวในตู้เดียวกันควรใช้วงจรแยกความถี่เสียง(Cross Over Network) จะได้เสียงที่มีคุณภาพดีขึ้น การต่อลำโพงเข้ากับเครื่องขยายเสียงอย่าให้สายลำโพงแตะถึงกันจะทำให้เครื่องขยายเสียงเกิดการลัดวงจรเสียหายได้ สายลำโพงที่ใช้ควรมีขนาดโตพอเพื่อป้องกันการสูญเสียของสัญญาณจากความต้านทานของสายที่มีขนาดเล็ก อย่าให้ลำโพงตกหรือกระแทกกับพื้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.