ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThong khao Chuan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
(Supporting Mechanism for Interlibrary Loan on ThaiLIS Network) นายภัทธ์ เอมวัฒน์* ดร. แสงสุรีย์ วสุพงศ์อัยยะ
2
Outline ความสำคัญและที่มา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ทฤษฎีและการจัดการ
เครื่องมือการวิจัย ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย
3
ความสำคัญและที่มา บริการยืมระหว่างห้องสมุด (Interlibrary Loan : ILL) ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดอื่นโดยที่ไม่ต้องเป็นสมาชิกของห้องสมุดนั้น ทรัพยากรสารสนเทศที่ให้บริการ หนังสือ, วารสาร, วิทยานิพนธ์, วิจัย, CD, DVD ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุดในปัจจุบัน
4
ขั้นตอนการให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด ในปัจจุบัน
5
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
พัฒนาระบบช่วยรับส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการยืมระหว่างห้องสมุด พัฒนาระบบช่วยรวบรวมสถิติเกี่ยวกับการยืมระหว่างห้อสมุด สร้างคู่มือในการใช้งาน เพื่อสร้างระบบนำส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรวบรวมข้อมูลการใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุดไว้ในส่วนกลาง
6
ทฤษฎีและการจัดการ วงจรพัฒนาระบบ หรือ SDLC
(System Development Life Cycle)
7
MARC (Machine Readable Cataloging)
ทฤษฎีและการจัดการ MARC (Machine Readable Cataloging) 1. ความหมาย คือรูปแบบของข้อมูลในการลงรายการบรรณานุกรมของหนังสือ โสตทัศนวัสดุและสื่อต่างๆ ตามมาตรฐาน RFC 2220 ตามหลักการลงรายการ แบบ AACR2 (Anglo American Cataloging Rules) หรือบัตรรายการในสมัยก่อน 2. โครงสร้าง Field, Tag, Subfield, Indicator
8
ทฤษฎีและการจัดการ Z39.50 เป็นมาตรฐานสำหรับรับส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งถูกกำหนดโดย US national standard เป็นโปโตคอลที่ทำงานใน applications layer ตาม OSI Model ถูกพัฒนาโดย National Information Standards Organization (NISO) ตาม RFC 1729 ซึ่งให้บริการเกี่ยวกับ สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ผู้ใช้งานระบบห้องสมุดสามารถติดต่อสื่อสารรับส่งข้อมูลกันระหว่างระบบห้องสมุดอัตโนมัติแต่ละแห่ง โดยที่ไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบและข้อกำหนดของระบบห้องสมุดอัตโนมัติอื่น ๆ ที่ติดต่อด้วย ซึ่ง ใช้ MARC เป็นรูปแบบพื้นฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
9
สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์
ทฤษฎีและการจัดการ สถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์
10
เครื่องมือการวิจัย ส่วนลูกข่าย เว็บเบราเซอร์ ส่วนแม่ข่าย
- ติดตั้งระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องแม่ข่ายคือ LINUX - ติดตั้งโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์คือ APACHE - ติดตั้งโปรแกรมที่ทำหน้าที่แปลชุดคำสั่งคือ PHP ส่วนระบบจัดการฐานข้อมูล ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลคือ MySQL
11
ระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดปัญหาและความต้องการของระบบ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา ขั้นตอนการออกแบบระบบ ขั้นตอนในการพัฒนา ขั้นตอนในการทดสอบและติดตั้ง ขั้นตอนการบำรุงรักษาและการประเมินผล
12
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
13
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
14
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
15
ผลการวิจัย > ส่วนของผู้ใช้
16
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
17
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
18
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
19
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
20
ผลการวิจัย > บรรณารักษ์
21
ผลการวิจัย > ผู้ดูแลระบบ
22
สรุปผลการวิจัย ทดลองใช้บริการที่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ
23
สรุปผลการประเมินระบบ
สรุปผลการวิจัย สรุปผลการประเมินระบบ
24
ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มวิธีการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ เช่น Web Services, OAI แทน Z39.50 และควรเพิ่มการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างๆ ควรทำให้อ่านแฟ้ม MARC ได้ทุกชนิด ห้องสมุดที่มีผู้ปฏิบัติงานบริการยืมระหว่างห้องสมุดหลายคนควรมีรหัสเข้าใช้ระบบแยกแต่ละบุคคลไม่ควรใช้รวมกัน เพื่อการตรวจสอบข้อมูลผู้ดำเนินการ ข้อมูลการเงิน เป็นต้น
25
http://ill.oas.psu.ac.th ถาม & ตอบ Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.