ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิธีการทางสุขศึกษา
2
หัวข้อ 1. แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการสุขศึกษา 2. การสุขศึกษารายบุคคล
3. การสุขศึกษารายกลุ่ม 4. การสุขศึกษามวลชน
3
วัตถุประสงค์ 1. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการสุขศึกษาได้อย่างถูกต้อง
2. ระบุข้อดีและข้อจำกัดของการสุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม และมวลชนได้ 3. วางแผนการใช้วิธีการสุขศึกษาได้อย่างเหมาะสม
4
ความหมาย . วิธีการสุขศึกษา (Health education Method)
ความหมาย . วิธีการสุขศึกษา (Health education Method) เป็นกระบวนการที่วางแผนไว้อย่างมีระบบและมีจุดมุ่งหมายที่จะให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน คิดและหาเหตุผลด้วยตนเองที่จะเลือกและตัดสินใจที่จะปฏิบัติตนในทางที่ถูกต้อง เพื่อให้มีสุขภาพดี
5
ความสำคัญ . วิธีการสุขศึกษามีหลายแบบ เช่น - การสุขศึกษารายบุคคล
ความสำคัญ . วิธีการสุขศึกษามีหลายแบบ เช่น - การสุขศึกษารายบุคคล - การสุขศึกษารายกลุ่ม - การสุขศึกษามวลชน ** ในการถ่ายทอดความรู้เรื่องสุขภาพไปสู่ประชาชนบรรลุผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
6
ความสำคัญ . การสุขศึกษารายบุคคล
ความสำคัญ . การสุขศึกษารายบุคคล 1. ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่บุคคลได้อย่างละเอียด 2. ช่วยแก้ปัญหาส่วนตัว และให้คำปรึกษาเฉพาะ 3. มีโอกาสซักถามได้ตามความต้องการ 4. สามารถชักชวนให้ทำตามสิ่งที่ต้องการได้ 5. ช่วยสอนทักษะพิเศษในเรื่อหนึ่งเฉพาะราย
7
ความสำคัญ . 6. กระตุ้นให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ความสำคัญ . 6. กระตุ้นให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยการอธิบายเหตุผลและเสนอข้อมูลให้รู้ การสุขศึกษารายกลุ่ม 1. แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ในกลุ่ม 2. กลุ่มสามารถกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3. ทำให้เกิดความร่วมแรงร่วมใจกันแก้ไขปัญหา
8
ความสำคัญ . 4. ทำให้เกิดทักษะในการใช้ความคิด การอภิปราย
ความสำคัญ . 4. ทำให้เกิดทักษะในการใช้ความคิด การอภิปราย 5. สร้างทัศนคติเกี่ยวกับการยอมรับความคิดของผู้อื่น 6. สร้างบรรยากาศของการทำงานร่วมกันแบบเป็นกลุ่ม
9
ความสำคัญ . การสุขศึกษามวลชน
ความสำคัญ . การสุขศึกษามวลชน 1. นำข่าวสาร ความรู้ และข้อเท็จจริงไปถึงประชาชนในระยะเวลาอันสั้น 2. ให้ข่าวสารเฉพาะเรื่องหรือแนวคิด ได้ตามต้องการและรวดเร็ว 3. กระตุ้นให้ประชาชนสนใจปัญหาสุขภาพและคิดแก้ไขด้วยตนเอง
10
ความสำคัญ . การสุขศึกษามวลชน
ความสำคัญ . การสุขศึกษามวลชน 4. ชุกชวนประชาชนให้สนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมที่ต้องการได้ 5. ทำให้ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติที่เกิดขึ้นนั้นคงทน 6. ใช้ร่วมกับวิธีการอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
11
เกณฑ์การเลือกวิธีการสุขศึกษา .
เกณฑ์การเลือกวิธีการสุขศึกษา . 1. ผู้ให้สุขศึกษา 2. ผู้รับความรู้หรือกลุ่มเป้าหมาย 3. วัตถุประสงค์ของการถ่ายทอดความรู้ 4. เนื้อหาสาระ 5. เวลาและสิ่งอำนวยความสะดวก
12
การสุขศึกษารายบุคคล . ได้แก่ การสัมภาษณ์ การให้คำปรึกษา การเยี่ยมบ้าน
การสุขศึกษารายบุคคล . ได้แก่ การสัมภาษณ์ การให้คำปรึกษา การเยี่ยมบ้าน การใช้บทเรียนสำเร็จรูป ทางโทรศัพท์
13
การสุขศึกษารายกลุ่ม . ได้แก่ การบรรยาย การสาธิต การบรรยายหมู่
การสุขศึกษารายกลุ่ม . ได้แก่ การบรรยาย การสาธิต การบรรยายหมู่ การอภิปรายหมู่ การฝึกอบรม
14
การสุขศึกษารายกลุ่ม . ได้แก่ การประชุมสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การสุขศึกษารายกลุ่ม . ได้แก่ การประชุมสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดชุมชน
15
การสุขศึกษามวลชน . ได้แก่ ใช้สิ่งพิมพ์ ทางวิทยุกระจายเสียง
การสุขศึกษามวลชน . ได้แก่ ใช้สิ่งพิมพ์ ทางวิทยุกระจายเสียง ทางวิทยุโทรทัศน์ ใช้ภาพยนต์ การจุดนิทรรศการ
16
คำถาม ? . 1. วิธีการสุขศึกษา หมายถึงอะไร
คำถาม ? . 1. วิธีการสุขศึกษา หมายถึงอะไร 2. จงบอกความแตกต่างระหว่างการสุขศึกษารายบุคคลและการสุขศึกษารายกลุ่ม 3. จงบอกเกณฑ์การเลือกวิธีการสุขศึกษา 4. จงยกตัวอย่างวิธีการสุขศึกษารายกลุ่ม มา 3 ต.ย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.