ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
2
พลังงานมีกี่ประเภท ? 1. พลังงานใช้แล้วหมดไป (Modern Energy)
“พลังงานสิ้นเปลือง” หรือ “พลังงานฟอสซิล” เช่น น้ำมัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ 2. พลังงานใช้ไม่หมด (Renewable Energy) “พลังงานหมุนเวียน” หรือ “พลังงานทดแทน” เช่น น้ำ แสงอาทิตย์ ลม คลื่น ชีวมวล (ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย มูลสัตว์) ฯลฯ
3
ความสำคัญของพลังงาน พลังงานสำรองมีอยู่จำกัด
แนวโน้มราคาพลังงานสูงขึ้นโดยตลอด การใช้พลังงานมีผลต่อสิ่งแวดล้อม
4
ครองแชมป์ติดต่อกัน ได้แก่ ภาคขนส่ง 37.1%
รองแชมป์อันดับ 1 ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม 36.7% รองแชมป์อันดับ 2 ได้แก่ ภาคครัวเรือน 14.1%
5
พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ?
สถานการณ์พลังงานของโลก พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ? น้ำมันใช้ได้อีกประมาณ 40 ปี (สำรอง/การใช้ต่อปี =1,188,555,694,069 Barrels/29,476,334,904 Barrels ~ 40 ปี) ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 62 ปี ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 220 ปี ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
7
เส้นสีแดงแสดงความต้องการใช้น้ำมันของโลก
เส้นสีน้ำเงิน แสดง การผลิตพลังงาน
8
สถานการณ์พลังงานของไทย
ประเทศไทยใช้พลังงานประมาณ 1 % ของพลังงานที่ใช้ กันทั่วโลกพลังงานที่ใช้มากที่สุดได้แก่ น้ำมัน % พลังงานหมุนเวียน % ก๊าซธรรมชาติ % ลิกไนต์ % ถ่านหินนำเข้า % ซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศ %
9
พลังงานสำรองของไทยใช้ได้อีกกี่ปี ?
พลังงานสำรองของโลกใช้ได้อีกกี่ปี ? (สำรอง/การใช้ต่อปี =1,188,555,694,069 Barrels/29,476,334,904 Barrels ~ 40 ปี) น้ำมันดิบไม่พอใช้อยู่แล้ว…ต้องนำเข้า>70% น้ำมันใช้ได้อีกประมาณ 40 ปี ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 20 ปีหมด ก๊าซธรรมชาติใช้ได้อีกประมาณ 62 ปี (สำรอง/การใช้ต่อปี =2,188,000,000 Barrels/147,131,500 Barrels ~ 20 ปี) ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 60 ปี ถ่านหินใช้ได้อีกประมาณ 220 ปี ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
10
ราคาพลังงานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
11
ร้อยละ 70 ประเทศไทยต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศสูงถึง
ส่งผลให้ประเทศเข้าสู่วิกฤตด้านพลังงาน คนไทยจะต้องตระหนักและมีสติในการใช้พลังงาน ส่งออกสินค้าการเกษตรทั้งปี สามารถซื้อน้ำมันมาใช้ได้เพียงครึ่งปี
14
แนวโน้มราคาพลังงานจะสูงขึ้น
องค์กรไหนไม่ปรับตัว ไม่เตรียมพร้อม จะทำงานยากขึ้น
15
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มขึ้นมีนัยสำคัญกับการเพิ่มของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ
16
ภาวะเรือนกระจกในรถยนต์
ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดได้อย่างไร ? ภาวะเรือนกระจกในรถยนต์ ภูมิอากาศของโลกเกิดจากการไหลวนของพลังงานจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้ส่วนใหญ่เข้ามาสู่โลกในรูปแสงแดด ประมาณร้อยละ 30 ของพลังงานที่เดินทางมาสู่โลกได้ สะท้อนกลับไปสู่ห้วงอวกาศ แต่อีกร้อยละ 70 ได้ถูกดูดซับโดยผ่านชั้นบรรยากาศลงมาให้ความอบอุ่นกับพื้นผิวโลก
17
Global warming : Climate change
ภาวะโลกร้อน มีผลกระทบต่อฤดูกาลของโลก Global warming : Climate change
19
ผลกระทบต่อเนื่อง การใช้พลังงานอย่างมาก การตัดไม้ทำลายป่า ภาวะโลกร้อน
การเพิ่มปริมาณ CO2 ในชั้นบรรยากาศ สิ้นเปลืองการนำเข้าน้ำมัน การเพิ่มก๊าซเรือนกระจก การเก็งกำไร เสียเงินตราต่างประเทศ ภาวะสงคราม ปริมาณน้อยลง ภาวะโลกร้อน ขาดดุลย์การค้า ราคาน้ำมันสูงขึ้น น้ำแข็งในทะเลละลาย น้ำแข็งในที่สูงละลาย ประเทศยากจนลง น้ำในทะเลดูดความร้อน น้ำในทะเลร้อนขึ้น ระดับน้ำ ทะเลสูงขึ้น ปัญหาการผลิตและการจ้างงาน เสียความหลากหลายทางชีวภาพ กระแสน้ำร้อน/น้ำเย็นเปลี่ยนแปลง แผ่นดิน ร้อนขึ้น น้ำท่วมชายฝั่งทวีป ราคาไฟฟ้า/น้ำมัน/เชื้อเพลิง สูงขึ้น ลมแรง/พายุ การกัดเซาะชายฝั่ง โรคระบาด ฤดูการเปลี่ยนแปลง และรุนแรง อาหารและสินค้า แพงขึ้น น้ำท่วม ขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค/บริโภค เอลนินโย/ลานินย่า ไฟป่า ฝนแล้ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.