ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKamchana Lekcharuthas ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อแตกต่างการสร้างภูมิคุ้มกัน ระหว่างไก่ไข่และไก่เนื้อ
โดย นางสาว ชนิดา แป้นจันทร์ สาขาสัตวศาสตร์ รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา น.สพ.ดร. บัญชา พงศ์พิศาลธรรม
2
บทนำ - มีการคัดเลือกพันธุ์ไก่เพื่อให้ได้การเจริญเติบโตผลผลิตตามที่ต้องการ - ลักษณะที่แสดงออกและการสร้างภูมิคุ้มกัน มีความสัมพันธ์ ทางลบ - ไก่ที่ถูกคัดเลือกจะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่ต่ำ แต่จะมีน้ำหนักตัวที่สูง แต่ในไก่ที่ไม่ถูกคัดเลือก จะมีปฏิกิริยาต่อSRBC ที่สูง แต่จะมีน้ำหนักตัวที่น้อย SRBC : Sheep red blood cell
3
ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน
1. ความแตกต่างในเรื่องพันธุกรรม 2. การมียาฆ่าแมลงปนมาในอาหาร 3. สารAflatoxins จากเชื้อราที่ผสมอยู่ในอาหาร 4. โรคกัมโบโร 5. ภาวะที่เครียดที่เกิดจากโรค เช่น โรคบิด 6. โภชนะอาหาร เช่น การขาดกรดอะมิโน
4
ค่าความเข้มข้นของ IgM และ IgG ในไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกัน ผ่านทางวิธีการที่ต่างกัน
การสร้างภูมิคุ้มกันทาง 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 1st 7วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd 10วันหลังสร้างภูมิคุ้มกัน 2nd IgM เส้นเลือดดำ 289 a 146 b 15040 a 5706 a กล้ามเนื้อ 161 b 165 b 377 b 1619 b ใต้ผิวหนัง 285 319 a 566 b 519 b ใต้ตา 343 a 254 a 205 b 178 b IgG 119 a 11 a 3716 a 30901 a 45 b 5 b 180 b 1556 b 60 b 7 a 125 b 37 c 234 c 28 d Antigen : TNP-KLH (trinitrophenyl-conjugated keyhole limit hemocyanin)
5
ความเข้มข้นของIgM และ IgG ของไก่ไข่หลังการสร้างภูมิคุ้มกันต่อTNP-KLH
หลังสร้าง IgM IgG ควบคุม ให้สาร สร้างครั้งแรก 0 วัน 18 30 3 4 5 วัน 44 2114 1 372 7 วัน 65 1492 6 425 10 วัน 41 295 7 397 สร้างครั้งที่2 53 12388 9 6639 45 5407 10 4697 42 882 1652 38 446 29 1205
6
ความเข้มข้นของ IgM และ IgG ที่จำเพาะ ของไก่ไข่และไก่เนื้อ หลังการสร้างภูมิคุ้มกันครั้งแรก ในปริมาณสารที่แตกต่างกัน (a) IgM ของไก่ไข่ (b) IgM ของไก่เนื้อ (c) IgG ของไก่ไข่ (d) IgG ของไก่เนื้อ
7
ปัจจัยขัดขวางการสร้างภูมิคุ้มกัน
โภชนะอาหาร การขาดกรดอะมิโน
8
แสดงการให้อาหารตามต้องการโดยการขาดกรดอะมิโนที่แตกต่างกัน หรือ อาหารควบคุมภายใต้การจำกัดการให้อาหาร
9
แสดงน้ำหนักและอาหารที่มีกรดอะมิโนที่ระดับแตกต่างกัน จากอายุ10-24วัน
- S-containing amino acids (SAA; methionine + cysteine) - Aromaticamino acids (AAA; phenylalanine + tyrosine) - Branched-chain amino acids (BCAA; isoleucine + leucine + valine) - Arginine plus lysine (Arg + Lys) - Other essential amino acids (OEAA; glycine + serine + histidine + threonine + tryptophan)
10
แสดงความสัมพันธ์ น้ำหนัก ต่อมไทมัส ม้าม และต่อมเบอร์ซ่าที่ก้น
11
แสดงการตอบสนองของ splenocyte
12
กรดอะมิโน เช่น methionine valine lysine phenylalanine
isoleucine leucine arginine การสร้างภูมิคุ้มกัน + การเจริญเติบโต NRC(1994) : National Research Council
13
ผลของ Aginine ต่อการเจริญเติบโต
Arginine และ lysine ไม่เกิด antagonism จึงไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต Antagonism : การต่อต้านกันระหว่างกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างคล้ายกัน ส่งผลให้ลดการเจริญเติบโต
14
ผล Aginine ต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน
: การสเปรย์วัคซีน NDแบบหยาบๆที่โรงฟัก เพิ่มความเข้มข้นของ antibody เมื่อไหร่ที่ Arg ไม่มีผลต่อ NDและ IB ในไก่
15
ระดับ Arginine มีผลต่อการเพิ่มของ plasma amino acid
16
สรุป - การเสริมภูมิคุ้มกันให้ดีโดยการให้วัคซีนทางเส้นเลือดดำให้ผลดีที่สุด - ไก่ไข่สร้าง IgG ดีกว่าไก่เนื้อ , ส่วนไก่เนื้อสร้าง IgM ดีกว่าไก่ไข่ - ไก่เนื้อในเรื่องปัจจัยต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน คือ โภชนาการในที่นี้กล่าวถึงกรดอะมิโนที่จำเป็น มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันและสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของอวัยวะน้ำเหลือง - Arginine(+lysine) ในปริมาณที่ใกล้เคียงกับ NRC(1994) ไม่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกัน แต่มีผลต่อโครงสร้างระบบภูมิคุ้มกัน(celluar and humoral) ที่มีส่วนช่วยรักษาสุขภาพของสัตว์
17
ขอขอบพระคุณผู้เข้าฟังสัมมนาทุกท่าน....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.