ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSanoh Chuasiriporn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
ผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2
การติดต่อผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา
การติดต่อผู้สอน อ.ไพรศิลป์ ปินทะนา ห้องพักอาจารย์ อาคาร 29 สาขาวิชาการประเมินและการวิจัย & MSN & facebook : HomePage : โทรศัพท์ X (ใช้ mail หรือ fb จะดีกว่า)
4
บทเพลง “บูชาครู” เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
บทเพลง “บูชาครู” ใครคือครู ครูคือใครในวันนี้ ใช่อยู่ที่ปริญญามหาศาล ใช่อยู่ที่เรียกว่าครูอาจารย์ ใช่อยู่นานสอนนานในโรงเรียน ครูคือผู้ชี้นำทางความคิด ให้รู้ถูกรู้ผิดคิดอ่านเขียน ให้รู้ทุกข์รู้ยากรู้พากเพียร ให้รู้เปลี่ยนแปลงสู้รู้สร้างงาน ครูคือผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้สูงสุดกว่าสัตว์เดรัจฉาน ครูคือผู้สร้างสมอุดมการณ์ ในดวงมาลย์เพื่อมวลชนใช่ตนเอง ครูจึงเป็นนักสร้างผู้ใหญ่ยิ่ง สร้างคนจริงสร้างคนกล้าสร้างคนเก่ง สร้างคนให้เป็นตัวของตัวเอง ขอมอบเพลงนี้มาบูชาครู เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
5
จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของสถานศึกษาในทุกๆ ด้าน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนทราบในการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับอาจารย์พี่เลี้ยง และปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่สถานศึกษามอบหมาย เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และเจตคติที่ดีต่องานในหน้าที่ครู
6
วิธีการศึกษา การศึกษาโดยการเข้าชั้นเรียน
การศึกษาโดยการเข้าชั้นเรียน จะใช้เวลาศึกษาค้นคว้า การรายงาน การร่วมอภิปราย สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ตลอดภาคเรียน รวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง ในเนื้อหาส่วนที่เป็นพื้นฐานความรู้ก่อนที่จะออกไปศึกษาและการมีส่วนร่วมที่สถานศึกษา การศึกษาโดยการไม่เข้าชั้นเรียน การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานการณ์จริงที่สถานศึกษา จะใช้เวลาฝึกปฏิบัติ ในสถานการณ์จริง รวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง ซึ่งจะสัมพันธ์กับเนื้อหาจากการศึกษาโดยการเข้าชั้นเรียน ได้กำหนดกิจกรรมปฏิบัติในสถานการณ์จริงไว้ดังนี้ บันทึกการศึกษาโดยใช้แบบบันทึกหน่วยที่ 1-6 ปฏิบัติงานการมีส่วนร่วมและบันทึกลงในแบบบันทึกการปฏิบัติงานการมีส่วนร่วม บันทึกการปฏิบัติงานการศึกษาและการมีส่วนร่วมประจำวัน
7
ขอบข่ายการประเมินผล การประเมินผลจะพิจารณาจากการศึกษาทั้ง 2 ด้าน ดังนี้
การประเมินผลจะพิจารณาจากการศึกษาทั้ง 2 ด้าน ดังนี้ การศึกษาโดยการเข้าชั้นเรียนกำหนดเกณฑ์การผ่านการศึกษาในแต่ละหน่วยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การทดสอบหลังเรียนในแต่ละหน่วย การรายงาน การอภิปราย
8
ขอบข่ายการประเมินผล การศึกษาโดยการไม่เข้าชั้นเรียน กำหนดเกณฑ์การผ่านการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง ดังนี้ เวลาการฝึกปฏิบัติที่สถานศึกษาไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง ผลการฝึกปฏิบัติครบถ้วนสมบูรณ์ทุกขั้นตอนตามที่กำหนด ผลการบันทึกในแบบบันทึกครบและสมบูรณ์ทุกแบบบันทึก คะแนนจากการประเมินของอาจารย์พี่เลี้ยงและ/หรือจากสถานศึกษา ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนจากแบบประเมินคุณลักษณะและการปฏิบัติตนและแบบประเมินการศึกษาและการมีส่วนร่วม
9
เกณฑ์การประเมินผล การเข้าชั้นเรียน 5%
การเข้าชั้นเรียน 5% การรายงาน การอภิปราย และการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 25% การทดสอบหลังเรียนแต่ละหน่วย 30% การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง 40%
10
เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
คะแนน 85% ขึ้นไป A 80 – 84% B+ 75 – 79% B 67 – 74% C+ 60 – 66% C 55 – 59% D+ 50 – 54% D 50% ลงไป F
11
เนื้อหา หน่วยที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา
หน่วยที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา หน่วยที่ 2 งานในหน้าที่ครูผู้สอน หน่วยที่ 3 งานในหน้าที่ครูประจำชั้น หน่วยที่ 4 งานบริหารสถานศึกษา หน่วยที่ 5 งานบริการของสถานศึกษา หน่วยที่ 6 สภาพชุมชนและความสัมพันธ์ ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน
12
หน่วยที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศึกษา
สาระสำคัญ สภาพทั่วไปของสถานศึกษา เป็นการจัดสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเพื่อให้มีภูมิทัศน์สวยงามและส่งเสริมการเรียนการสอน
13
จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของสถานศึกษา 2. เพื่อให้มีการอภิปรายถึงความสำคัญของสภาพทั่วไปของสถานศึกษาที่มีต่อการจัดการศึกษา 3. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติงานหลังจากศึกษาและมีส่วนร่วมในสถานศึกษาแล้วบันทึกตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้ 4. เพื่อให้มีการอภิปรายผลจากการไปศึกษาและมีส่วนร่วมในสถานศึกษา
14
สถานศึกษา 1. ทำเลที่ตั้งของสถานศึกษา 2. อาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ
1. ทำเลที่ตั้งของสถานศึกษา 2. อาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ 3. ห้องเรียนและเครื่องใช้ต่างๆ ในห้องเรียน 4. ห้องพยาบาล 5. โรงอาหาร 6. โรงประชุม 7. ห้องพักครู 8. ห้องสมุด 9. ห้องปฏิบัติการต่างๆ 10. น้ำดื่ม น้ำใช้ 11. ห้องน้ำห้องส้วม 12. สนามกีฬา 13. สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
15
ทำเลที่ตั้งของสถานศึกษา
สถานที่ตั้งของสถานศึกษา ขนาดเนื้อที่ของสถานศึกษา ลักษณะบริเวณภายในสถานศึกษา ลักษณะสภาพแวดล้อมนอกสถานศึกษา ระบบระบายน้ำในสถานศึกษา การคมนาคม อื่นๆ
16
อาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ
การแบ่งพื้นที่ตั้งของอาคารต่างๆ รูปแบบและจำนวนชั้นของอาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ การวางอาคารเรียน และอาคารประกอบอื่นๆ สีภายในและภายนอกอาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ การตกแต่งบริเวณรอบอาคารเรียนและอาคารประกอบอื่นๆ อื่นๆ
17
ห้องเรียนและเครื่องใช้ต่างๆ ในห้องเรียน
ขนาดเนื้อที่ห้องเรียน (ตารางเมตร) เล็ก กลาง และใหญ่ ขนาดโต๊ะเรียน และม้านั่ง (กว้าง ยาว สูง) การจัดโต๊ะเรียน (แบบต่างๆ) สีภายในห้องเรียน กระดานดำ (ขนาด ความสูง และสี) แสงสว่างภายในห้องเรียน การถ่ายเทอากาศในห้องเรียน อื่นๆ
18
ห้องพยาบาล / เรือนพยาบาล
ทำเลที่ตั้งห้องพยาบาล ขนาดเนื้อที่ของห้องพยาบาล เครื่องมืออุปกรณ์และเวชภัณฑ์ในห้องพยาบาล อื่นๆ
19
โรงอาหาร / ที่รับประทานอาหาร
ทำเลที่ตั้งของโรงอาหาร ขนาดเนื้อที่ของโรงอาหาร โต๊ะรับประทานอาหาร การดูแลและรักษาความสะอาดโรงอาหาร อื่นๆ
20
โรงประชุม / หอประชุม ทำเลที่ตั้งของโรงประชุม ขนาดเนื้อที่โรงประชุม
อุปกรณ์ เครื่องมือในโรงประชุม อื่นๆ
21
ห้องพักครู ทำเลที่ตั้งห้องพักครู ขนาดเนื้อที่ห้องพักครู
อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ในห้องพักครู อื่นๆ
22
ห้องสมุด / หอสมุด ทำเลที่ตั้งห้องสมุด ขนาดเนื้อที่ห้องสมุด
ประเภท จำนวนหนังสือ วารสารและอื่นๆ ในห้องสมุด การจัดหนังสือในห้องสมุด อื่นๆ
23
ห้องปฏิบัติการต่างๆ (วิทยาศาสตร์ ฯลฯ)
ห้องปฏิบัติการต่างๆ (วิทยาศาสตร์ ฯลฯ) ทำเลที่ตั้ง ขนาดเนื้อที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ การรักษาความปลอดภัย อื่นๆ
24
น้ำดื่ม / น้ำใช้ การจัดบริการน้ำดื่ม / น้ำใช้
กรณีสถานศึกษาอยู่ในเขตบริการของการประปา กรณีสถานศึกษาอยู่นอกเขตบริการการประปา สัดส่วนจำนวนนักเรียนต่อจำนวน (ที่ดื่มน้ำ) น้ำดื่ม / น้ำใช้ อื่นๆ
25
ห้องน้ำ / ห้องส้วม / ที่ปัสสาวะ
ทำเลที่ตั้ง ห้องน้ำ / ห้องส้วม และที่ปัสสาวะ จำนวนห้องน้ำและอุปกรณ์ในห้องน้ำ จำนวนห้องส้วมชาย / และหญิงต่อจำนวนนักเรียน จำนวนที่ปัสสาวะชาย ต่อจำนวนนักเรียน การดูแลรักษาความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม และที่ปัสสาวะ อื่นๆ
26
สนามกีฬา / สนามเด็กเล่นต่างๆ
ทำเลที่ตั้งสนามกีฬา / สนามเด็กเล่น ขนาดเนื้อที่สนามกีฬา / สนามเด็กเล่น อื่นๆ
27
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
ทำเลที่ตั้งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ การจัดสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ แบบต่างๆ อื่นๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.