ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงสร้างภาษาซี
2
#include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก
Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ variable declaration; การประกาศค่าตัวแปรแบบ Gobal main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปรแบบ Local program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน จบโปรแกรม #include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก char name[15]; การประกาศค่าชนิดตัวแปร printf(“What your name”); scanf(“%s”,&name); } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน ส่วนของคำสั่ง
3
ส่วนหัว Header <.h> Header Flie มาใช้งาน เช่น
คือ ส่วนที่เรียกคำสั่งมาประมวลผล (preprocessor statement) โดยส่วนที่เรียกคำสั่งนี้ จะเขียนขึ้นต้นด้วย เครื่องหมาย # #include เป็นตัวที่เรียกอ่านคำสั่ง จาก <.h> Header Flie มาใช้งาน เช่น #include <stdio.h> include จะเรียกคำสั่งจาก แฟ้ม stdio.h มาร่วมใช้งาน เป็นไฟล์ที่ เก็บ ฟังก์ชั่นต่างๆ
4
Header flie หรือ .h เปรียบเสมือน เป็นตู้เสื้อผ้า ที่แบ่งเป็นหมวดๆ ชุดนักเรียน ชุดนอน ชุดใส่เล่น ฯลฯ
แฟ้มที่มีการเรียกใช้งานที่สุดคือ <stdio.h> (standard input output) เก็บฟังก์ชันประเภท ด้านการรับข้อมูลและแสดงผลเช่น printf scanf เป็นต้น
5
ฟังก์ชั่นที่อยู่ในส่วนของ Header ไฟล์
นอกจากฟังก์ชั่น <Stdio.h>ในส่วนของHeader flie แล้ว ยังมีฟังก์ชั่นอืนที่ควรต้องรู้ไว้เช่นกันคือ 1.<Conio.h> เป็นชุดฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการจัดการหน้าจอและแป้นพิมพ์ เช่น ฟังก์ชั่น getch() คือ ให้คอมพิวเตอร์หยุดรอการพิมพ์หนึ่งครั้ง 2. math.h เป็นชุดฟังก์ชันรวบรวมการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ฟังก์ชั่น pow () เป็นฟังก์ชันยกกำลัง รูปแบบ pow (เลขฐาน,เลขชี้กำลัง);
6
ส่วนของตัวโปรแกรม (Main Function)
ภาษาซีจะเริ่มต้นการทำงาน ที่ function ที่ชื่อ main วิธีการเขียน function main สามารถเขียนได้หลายวิธี void main(void) int main(void) void หรือ int ที่อยู่หน้า main เป็นตัวกำหนดการคืนค่าหลังจากโปรแกรมทำงานจบ ถ้าเป็น int โปรแกรมต้องมีการคืนค่าด้วยคำสั่ง return หรือ exit เช่น return 0; หรือ exit(1);
7
ไวยากรณ์ของภาษาซี ไวยากรณ์ของภาษาซีไม่ความซับซ้อนกำกวม
แต่ห้ามเขียนผิดแม้แต่นิดเดียว ภาษาซีมีการเขียนอยู่ในรูปแบบของบล็อก (Block) ที่เริ่มด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด {“ และจบด้วยเครื่องหมาย ปีกกาปิด ”} ทุกคำสั่งที่ไม่ได้ตามด้วยบล็อกจำเป็นต้องมีเครื่องหมายเซมิโคลอน ; ปิดท้ายเสมอ ยกเว้นในส่วนของ Preprocessor directive ควรจำไว้ว่าชื่อของฟังก์ชันทั้งหมดในภาษาซีจะเป็นตัวเล็กทั้งหมด
8
ขั้นตอนการใช้งาน เมื่อเข้าสู่โหมดการทำงานของภาษาซี กด Esc เพื่อเข้าสู่โหมดการเลือกใช้คำสั่ง หรือกด F10
9
2. การสร้างไฟล์ใหม่ให้เลือกเมนู File New โดยโปรแกรม จะกำหนดชื่อเบื้องต้นเป็น Noname.c
10
3. การบันทึกให้เลือกเมนู File Save หรือกดคีย์ลัด F2 ในกรณีที่บันทึกไฟล์ครั้งแรก ไฟล์ที่บันทึกได้จะมี Format (รูปแบบ นามสกุล) เป็น .C
11
4. การเปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไขให้เลือกเมนู File Load หรือกดคีย์ลัด F3 แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแก้ไข
12
5. การเปลี่ยนชื่อไฟล์ เลือกเมนู File Write to ในกรณีที่ต้องการบันทึกชื่อไฟล์ใหม่ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
13
6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (
6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (.OBJ) โดยเลือกเมนู Compile Compile หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9
14
7. หากเกิด error ให้กด F6 เพื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข
15
8. ถ้า Compile ผ่าน จะปรากฏข้อความ
ให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อทำงานต่อไป
16
9. การสร้าง .EXE เพื่อนำไปใช้งานให้เลือก Make EXE file
17
10. การรันโปรแกรม ให้เลือกเมนู Run Run หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9
18
12. แสดงผลการ Run โปรแกรม เมื่อเลือกเมนู Run User Screen หรือกดปุ่มคีย์ลัด Alt+F5
19
END WEEK 3
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.