งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Local Area Network Ethernet/Token Ring/FDDI/Wireless

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Local Area Network Ethernet/Token Ring/FDDI/Wireless"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Local Area Network Ethernet/Token Ring/FDDI/Wireless

2 Local Area Network เป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ขนาดเล็ก เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่อยู่ไม่ห่างกันมากนัก เช่นเครือข่ายภายในบริษัท ความเร็วในการรับส่งข้อมูล ตั้งแต่ 10 Mbps หรือมากกว่า เทคนิคในการส่งข้อมูล Ethernet Token Ring FDDI Wireless LAN อื่นๆ

3 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN HUB

4 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN การทำงานของ HUB ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่ได้รับมาจาก Port ที่ส่งข้อมูล แล้วกระจายสัญญาณที่ขยายแล้ว ออกไปยัง Port ที่เหลือทุก Port ต้นทาง ปลายทาง เครื่องในเครือข่ายยิ่งมาก ยิ่งทำให้ Bandwidth ลดลง

5 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN SWITCH

6 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN การทำงานของ Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานเหมือนกับ Hub แต่ฉลาดกว่า ซึ่ง Switch จะมีการบันทึก MAC Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกับ Port แต่ละ Port ไว้ เมื่อได้รับข้อมูลมาจาก port หนึ่ง จะส่งไปยังเครื่องปลายทางโดยตรง แทนที่จะกระจายส่งข้อมูลไปยังทุกๆ Port เหมือน Hub ทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับ Port ที่เหลือสามารถส่งข้อมูลถึงกันและกันได้ในเวลาเดียวกัน ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมี Bandwidth การส่งข้อมูลเท่ากับ Bandwidth ของ Switch

7 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN การทำงานของ Switch ต้นทาง ต้นทาง ปลายทาง ปลายทาง มีอีกแบบคือ Layer 3 Switch เป็น Switch ที่ทำงานเป็น Router ได้ในตัว

8 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN ROUTER

9 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN การทำงานของ Router ทำหน้าที่ในการหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งข้อมูลระหว่างโหนดในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยใช้ Network Address ในส่วนหัวของ IP Protocol ในการสร้าง Routing table Packet ข้อมูล ที่ส่งเข้าสู่ Router จะสามารถถูกสร้างขึ้นมาใหม่ได้ โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในส่วนหัวของ Packet เพื่อให้สอดคล้องกับการส่ง เช่นอาจมีการเปลี่ยนแปลง… Address ต้นทาง Checksum มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลได้

10 Layer 2 Switching & Layer 3 Routing
Local Area Network Layer 2 Switching & Layer 3 Routing

11 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN Repeater อุปกรณ์สำหรับใช้ทวนสัญญาณดิจิตอล ตัวอย่างการใช้ Repeater เพื่อเพิ่มระยะและทวนสัญญาณ

12 Topology Local Area Network
Bus Star Ring Mesh

13 รูปแบบในการเชื่อมต่อ
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อ Linear Bus Star

14 รูปแบบในการเชื่อมต่อ
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อ Star-Wired ring Mesh

15 รูปแบบในการเชื่อมต่อ
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อ Tree = Star + Bus

16 รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Bus
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Bus สัญญาณของข้อมูลจะเดินทางจากปลายข้างหนึ่งไปยังปลายอีกข้างหนึ่ง ถ้าไม่มีการกำจัดสัญญาณที่ปลายสาย จะมีการสะท้อนกลับของสัญญาณ ทำให้เครื่องอื่นๆ ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ เทอร์มิเนเตอร์ มีหน้าที่ในการดูดกลืนสัญญาณเพื่อไม่ให้สัญญาณสะท้อนกลับ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุด หรือเสียจะกระทบกับการทำงานของระบบโดยรวม การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่าย ต้องหยุดการทำงานของเครือข่ายชั่วคราวเพื่อตัดต่อสาย

17 อุปกรณ์เชื่อมต่อสำหรับรูปแบบเครือข่ายแบบ Bus
Local Area Network อุปกรณ์เชื่อมต่อสำหรับรูปแบบเครือข่ายแบบ Bus

18 รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Star
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Star คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า Hub หรือ Switch ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุด หรือเสียจะไม่กระทบกับการทำงานของระบบโดยรวม การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่าย ไม่ต้องหยุดการทำงานของเครือข่าย ลักษณะการส่งข้อมูล เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องใดต้องการส่งข้อมูล ก็จะส่งไปที่ฮับก่อน แล้วฮับจะทำหน้าที่ในการกระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่กับฮับ

19 อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN
Local Area Network อุปกรณ์ในเครือข่าย LAN

20 รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Ring (IEEE 802.5)
Local Area Network รูปแบบในการเชื่อมต่อแบบ Ring (IEEE 802.5) สายสัญญาณจะเชื่อมคอมพิวเตอร์ ในลักษณะรูปวงแหวน ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุด หรือเสียจะกระทบกับการทำงานของระบบโดยรวม ลักษณะการส่งข้อมูล ข้อมูลจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียวกันตลอด ถ้า Address ของผู้รับในข้อมูลที่ได้รับมาไม่ตรงกับ Address เครื่องของตนก็จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องถัดไป

21 Token Passing Local Area Network
เป็นรูปแบบการส่งข้อมูลใน Topology แบบ Ring ซึ่ง Token เป็นข้อมูลพิเศษที่ส่งผ่านในเครือข่าย โดยแต่ละเครือข่ายจะมีเพียง 1 Token เท่านั้น Token นี้จะส่งต่อกันไปเรื่อยๆ สำหรับเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลเมื่อได้รับ Token แล้วก็จะมีสิทธิ์ในการส่งข้อมูล

22 Token Passing Local Area Network
กรณีที่สถานีงาน A ต้องการส่งข้อมูลให้สถานีงาน D สถานีงาน A จะต้องเปลี่ยนข้อมูลของสัญญาณ Token เพื่อบอกให้สถานีงานอื่นในเครือข่ายทราบว่าขณะนี้สัญญาณ Token กำลังถูกใช้งานอยู่ แล้วส่งสัญญาณ Token พร้อมข้อมูลไปยังสถานีงาน B สถานีงาน B รับข้อมูล และตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ใช่ข้อมูลของตน ก็จะทำการส่งข้อมูลไปยังสถานีงานถัดไปตามลำดับ

23 Token Passing Local Area Network
สถานีงาน D ตรวจสอบพบว่าเป็นข้อมูลของตน ก็จะเก็บข้อมูลไว้ พร้อมทั้งเพิ่มรหัสพิเศษลงไปยัง Packet เพื่อตอบกลับไปยังผู้ส่ง เมื่อสถานีต้นทางหรือผู้ส่งได้รับ packet ของตนพร้อมรหัสพิเศษ ก็จะทราบว่าผู้รับได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จึงทำการเปลี่ยนข้อมูลในสัญญาณ Token ให้เป็น Token ว่างเพื่อส่งต่อไปยังสถานีงานอื่นต่อไป

24 FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
Local Area Network FDDI (Fiber Distributed Data Interface) เครือข่าย FDDI (Fiber Distributed Data interface) อาศัยการทำงานในรูปของ Token Ring แบบ 2 วงแหวนโดยที่แต่ละวงจะกำหนดให้ข้อมูลวิ่งกันคนละทางหากสายเส้นใดชำรุดหรือขาดก็ยังสามารถส่งข้อมูลได้ FDDI นี้อยู่ภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.5

25 FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
Local Area Network FDDI (Fiber Distributed Data Interface) วงแรก จะส่งข้อมูลตามทิศทางของเข็มนาฬิกา(Clockwise) อีกวงหนึ่งจะส่งข้อมูลแบบทวนเข็มนาฬิกา (Counterclockwise) หากวงหนึ่งวงใดชำรุด อีกวงหนึ่งก็สามารถทำงานแทนได้ทันที หากในกรณีที่ทั้ง 2 วงเกิดความเสียหายขึ้นพร้อมกันก็สามารถเชื่อมต่อกันให้กลายเป็นวงเดียว

26 Ethernet มาตรฐาน IEEE 802.3 เป็นมาตรฐานที่พัฒนามาจาก Ethernet ซึ่งมีรูปแบบการส่งข้อมูล โดยใช้ โปรโตคอล CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access /Collision Detection) มาตรฐาน IEEE ที่เป็นที่นิยม 10Base5 10Base2 10BaseT 10BaseF

27 โปรโตคอล CSMA/CD Ethernet
เป็นโปรโตคอลที่ใช้ส่งข้อมูลในสื่อกลางที่ใช้งานร่วมกัน ระหว่างโหนดในเครือข่าย ซึ่งในขณะใดขณะหนึ่งจะมีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ หลักการทำงาน ทำการตรวจสอบสัญญาณในสายก่อนการส่ง ถ้ามีเครื่องอื่นส่งข้อมูลอยู่ หรือมีการชนกันของข้อมูลเกิดขึ้นในสายส่ง(Collision) ก็จะหยุดรอก่อน จนกระทั่งสายสัญญาณว่างแล้วจึงส่งข้อมูลออกมา สัญญาณข้อมูลที่ส่งออกมาพร้อมกัน จะชนกัน ข้อมูลที่ส่งออกมานั้นจะถูกยกเลิก เครื่องที่ส่งข้อมูลมาแล้วเกิดการชนกันจะต้องรอด้วยช่วงเวลาหนึ่ง (Random Time) จึงจะสามารถส่งข้อมูลออกไปใหม่ได้อีกครั้ง

28 โปรโตคอล CSMA/CD Ethernet
เครื่องในเครือข่ายยิ่งมาก ยิ่งมีผลต่อประสิทธิภาพของเครือข่าย เพราะมีโอกาสที่ข้อมูลจะส่งมาแล้วชนกันมากขึ้น การชนกันของข้อมูลเป็นเรื่องปกติ ไม่ทำให้เครือข่ายล่มในทันที แต่จะทำให้การส่งข้อมูลทำได้ช้าลงเรื่อยๆ จนในที่สุดไม่สามารถส่งข้อมูลออกมาได้เลย

29 หลักการเรียกชื่อมาตราฐาน
Ethernet หลักการเรียกชื่อมาตราฐาน Bandwidth 10  10 Mbps 100  100 Mbps ... ช่องสัญญาณ Base  Baseband ส่งสัญญาณแบบเต็มช่อง,สัญญาณ Digital Broad  Broadband แบ่งช่องสัญญาณเป็นช่องสัญญาณย่อยแล้วส่งข้อมูลไปในแต่ละช่องได้, สัญญาณ Analog T – Twisted Pair F – Fiber Optic

30 รายละเอียดมาตราฐาน IEEE 802.3
Ethernet รายละเอียดมาตราฐาน IEEE 802.3 10Base-5 ใช้สาย Thick Coaxial ความยาวสูงสุดของสายต่อ Segment ไม่เกิน 500 เมตร ในทางปฏิบัติมีเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อพ่วงได้ไม่เกิน 100 เครื่อง ความเร็วในการส่งข้อมูลได้ไม่เกิน 10 Mbps. 10Base-2 ใช้สาย Thin Coaxial ขนาดความต้านทาน 50 โอห์ม ความยาวสูงสุดของสายต่อ Segment ไม่เกิน 185 เมตร สามารถต่อพ่วงคอมพิวเตอร์ได้ไม่เกิน 30 เครื่อง

31 รายละเอียดมาตราฐาน IEEE 802.3
Ethernet รายละเอียดมาตราฐาน IEEE 802.3 10Base-T ใช้สายส่งสัญญาณแบบ UTP (Unshielded Twisted Pair) จำนวนเครื่องที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย ขึ้นอยู่กับจำนวน Port ของ Hub ส่งข้อมูลได้ไม่เกิน 10 Mbps. 10Base-F ใช้สายส่งสัญญาณแบบ Fiber Optic ส่งข้อมูลได้ไกล 2 กม. ส่งข้อมูลได้ ไม่เกิน 10 Mbps. ไม่มีการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าภายนอก และข้อมูลมีความปลอดภัยมากกว่า แต่มีราคาแพงที่สุด ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการเชื่อมต่อที่สำคัญเท่านั้น

32 การขยายขนาดเครือข่าย
Ethernet การขยายขนาดเครือข่าย 10Base-5 และ 10Base-2 ใช้ Repeater ในการเชื่อม 2 Segment เข้าด้วยกัน 10Base-T และ 10Base-F ใช้สาย UTP แบบ Cross Over เชื่อมต่อ Hub / Switch ของแต่ละวงเข้าด้วยกัน

33 อุปกรณ์เครือข่าย LAN ที่นิยมใช้ในการเชื่อมต่อ
Ethernet อุปกรณ์เครือข่าย LAN ที่นิยมใช้ในการเชื่อมต่อ สายส่งสัญญาน Name Cable Max. Length Topology Advantages 10Base-5 Thick Coax 500 m Bus Good for backbone 10Base-2 Thin Coax 185 m Cheapest system 10Base-T Twisted pair 100 m Star Easy maintenance 10Base-F Fiber optic 2000 m Point-to-Point Best between building มาตรฐานทุกประเภทใช้ Protocol CSMA/CD ในการส่งข้อมูล

34 Fast Ethernet (IEEE 802.3u) Ethernet
หรืออีเทอร์เน็ตความเร็วสูง ถูกออกแบบมาเพื่อการติดตั้งเครือข่ายใน รูปแบบเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เท่านั้น สามารถส่งข้อมูลได้ที่ 100 Mbps. สายสัญญาณที่ใช้มีทั้งแบบ UTP หรือ Fiber Optic มาตรฐานที่มี เช่น 100Base-TX, 100Base-FX, 100Base-T4

35 Gigabit Ethernet (IEEE 802.3z)
ส่งข้อมูลได้สูงสุด 1000 Mbps. ใช้โปรโตคอล CSMA/CD ในการส่งข้อมูล ใช้สาย Fiber Optic เป็นหลักในการเชื่อมต่อ มาตรฐานที่มี 1000Base-SX, 1000Base-LX, 1000Base-CX และ 1000Base-T 10 Gigabits Ethernet (IEEE 802.3ae) มีการส่งข้อมูลแบบ Full Duplex และสายสัญญาณที่ใช้จะใช้เฉพาะ Fiber Optic เท่านั้น ถูกออกแบบมาให้สามารถใช้งานบนเครือข่ายแบบ MAN และ WAN ได้เช่นกัน

36 VLAN (Virtual Local Area Network)
เป็นการจัดกลุ่มคอมพิวเตอร์ ในลักษณะของ Logical Group คือมีการจัดรวมเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ใน Broadcast Domain เดียวกันโดยที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องอาจจะอยู่ต่างชั้น หรือต่างแผนก หรือต่าง Segment กันก็ได้ สร้างกลุ่มการทำงานแบบ VLAN เพื่อกำหนดสิทธิในการใช้งาน และกำหนดนโยบายด้านการรักษาความปลอดภัยของการส่งข้อมูล IP address ของเครื่องใน VLAN เดียวกัน จะมี Address ส่วนที่เป็น Network Address เหมือนกัน มักใช้อุปกรณ์ Switch ในการเชื่อมต่อ

37 VLAN (Virtual Local Area Network)
สามารถใช้ Layer 3 Switch แทน Switch ธรรมดาได้ เนื่องจากสามารถทำงานเป็น Router ได้ในตัว

38 ข้อควรพิจารณาในการเลือกรูปแบบเครือข่าย
Local Area Network ข้อควรพิจารณาในการเลือกรูปแบบเครือข่าย Money. A linear bus network may be the least expensive way to install a network; you do not have to purchase concentrators. Length of cable needed. The linear bus network uses shorter lengths of cable. Future growth. With a star topology, expanding a network is easily done by adding another concentrator. Cable type. The most common cable in schools is unshielded twisted pair, which is most often used with star topologies.

39 บทสรุปรูปแบบและสายที่ใช้ในการเชื่อมต่อ
Local Area Network บทสรุปรูปแบบและสายที่ใช้ในการเชื่อมต่อ

40 Ethernet Network Elements
Ethernet LANs consist of network nodes and interconnecting media. The network nodes fall into two major classes: Data terminal equipment (DTE)—Devices that are either the source or the destination of data frames. DTEs are typically devices such as PCs, workstations, file servers, or print servers that, as a group, are all often referred to as end stations. Data communication equipment (DCE)—Intermediate network devices that receive and forward frames across the network. DCEs may be either standalone devices such as repeaters, network switches, and routers, or communications interface units such as interface cards and modems

41 Wireless LAN (WLAN) ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN : WLAN) หมายถึง เทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้ ร่วมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยเช่นกัน โดยปราศจากการใช้สายสัญญาณในการเชื่อมต่อ โดยจะใช้คลื่นวิทยุเป็นช่องทางการสื่อสารแทน การรับส่งข้อมูลระหว่างกันจะใช้อากาศเป็นสื่อ ทำให้ไม่ต้องเดินสายสัญญาณ การติดตั้งจึงทำได้สะดวกขึ้น

42 Wireless LAN (WLAN) Extension Point

43 Wireless Local Area Network
Roaming A user can move from Area 1 to Area 2 transparently. The Wireless networking hardware automatically swaps to the Access Point with the best signal. Not all access points are capable of being configured to support roaming. Also of note is that any access points for a single vendor should be used when implementing roaming, as there is no official standard for this feature

44 Wireless Local Area Network
CSMA/CA with Acknowledgement เนื่องจากเทคนิค CSMA/CD ไม่สามารถนำมาใช้กับ WLAN ซึ่งใช้การสื่อสารแบบไร้สายได้ สาเหตุหลักๆ ก็คือการตรวจสอบการชนกันของสัญญาณในระหว่างที่ทำการส่งสัญญาณจะต้องใช้อุปกรณ์รับส่งคลื่นวิทยุที่เป็น Full Duplex ซึ่งจะมีราคาแพง นอกจากนี้แต่ละสถานีอาจไม่ได้ยินสัญญาณจากสถานีอื่นทุกสถานีหรือปัญหาที่เรียกว่า Hidden Node Problem ดังนั้นการตรวจสอบการชนกันของสัญญาณโดยตรงเป็นไปได้ยากหรือเป็นไปไม่ได้เลย มาตรฐาน IEEE จึงได้กำหนดให้ใช้เทคนิค CSMA/CA with Acknowledgement สำหรับการจัดสรรการเข้าใช้ช่องสัญญาณของแต่ละสถานีเพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านี้ CSMA/CA - Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance

45 Wireless Local Area Network
CSMA/CA with Acknowledgement เทคนิคสำหรับการตรวจสอบการชนของสัญญาณหรือไม่นั้นทำได้โดย สถานีผู้ส่งสัญญาณข้อมูลจะต้องรอรับ Acknowledgement จากสถานีปลายทางที่รับข้อมูลหากไม่ได้รับ Acknowledgement กลับมาภายในเวลาที่กำหนดจะถือว่าเกิดการชนกันของสัญญาณ จะต้องทำการส่งข้อมูลเดิมซ้ำอีกครั้ง

46 Wireless Network Connection
Wireless LAN Wireless Network Connection การเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายมี 2 รูปแบบ คือแบบ Ad-Hoc Infrastructure การใช้งานเครือข่ายไร้สายของผู้ใช้บริการทั่วไปจะเป็นแบบ Infrastructure คือมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ของผู้ให้บริการเป็นผู้ติดตั้งและกระจายสัญญาณ ให้ผู้ใช้ทำการเชื่อมต่อ โดยผู้ใช้บริการจะต้องมีอุปกรณ์รับส่งสัญญาณขอเรียกว่า "การ์ดแลนไร้สาย" เป็นอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ไปยังจุด Access Point ของผู้ให้บริการ

47 การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc
Wireless LAN การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc เป็นการเชื่อมต่อที่ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปที่ติดตั้งการ์ดแลนไร้สาย ทำการเชื่อมต่อสื่อสารกันโดยตรงไม่ต้องผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อแบบนี้สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้เช่น แชร์ไฟล์ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์ต่างๆ การสนทนาแบบวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ และเล่นเกมส์ แบบ LAN ได้ ซึ่งช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกันได้โดยไม่ต้องมีสายสัญญาณ แต่การเชื่อมต่อแบบ Ad-Hoc จะไม่สามารถติดต่อสื่อสารกับเครือข่ายแบบมีสายสัญญาณได้ นอกจากจะทำการติดตั้งอุปกรณ์ Access Point เพื่อให้ Access Point ทำการเชื่อมต่อและส่งข้อมูลไปเครือข่ายแบบมีสายแทน

48 การเชื่อมต่อแบบกลุ่ม Infrastructure
Wireless LAN การเชื่อมต่อแบบกลุ่ม Infrastructure การเชื่อมต่อแบบ Infrastructure เป็นการเชื่อมต่อที่มีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) เป็นตัวกลาง ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณและข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไร้สายของเครือข่ายไร้สายไปสู่เครือข่ายแบบมีสาย Access Point จะมีการทำงานเหมือนกับ HUB ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบมีสาย หมายเหตุ หากมีการเข้าใช้งานเครือข่ายไร้สายของเครื่องลูกข่ายในจำนวนมากต่อหนึ่ง Access Point จะมีผลทำให้ความเร็วของการสื่อสารเครือข่ายไร้สายช้าลง

49 อัตราความเร็วการรับส่ง
Wireless LAN Standard of Wireless มาตรฐาน IEEE Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) เป็นสถาบันที่กำหนดมาตรฐานการทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้กำหนด มาตรฐานสำหรับเครือข่ายไร้สาย คือมาตรฐาน IEEE a, b, และ g ซึ่งแต่ละมาตรฐานมีความเร็วและคลื่นความถี่สัญญาณที่แตกต่างกันในการสื่อสารข้อมูล มีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐาน คลื่นความถี่ อัตราความเร็วการรับส่ง 802.11a GHz 54 Mbps 802.11b GHz 11 Mbps 802.11g Mbps

50 การเลือกใช้อุปกรณ์ในการต่อพ่วง
Wireless LAN การเลือกใช้อุปกรณ์ในการต่อพ่วง ประเด็นการเลือกซื้ออุปกรณ์เครือข่ายไร้สายที่ต้องตรวจสอบเบื้องต้นมีดังนี้      • รัศมีของอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายครอบคลุมถึงจุดที่ต้องการ     • ความเร็วในการรับส่งข้อมูล เช่น 11 Mbps หรือ 54 Mbps     • ความสามารถเข้ากันได้ของผลิตภัณฑ์     • อุปกรณ์กระจายสัญญาณต้องมีความสามารถปรับเปลี่ยนช่องคลื่นสัญญาณได้     • ผลิตภัณฑ์มีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์     • การติดตั้งง่ายและสะดวกในการใช้งาน     • ความปลอดภัยในการใช้งาน เช่น มาตรฐาน WPA     • อุปกรณ์ควรมีไฟบอกสถานะการทำงาน     • อุปกรณ์มีเครื่องหมายแสดงการผ่านการตรวจสอบ มาตรฐานจาก Wi-Fi Alliance

51 Wireless Network Components
Wireless LAN Wireless Network Components Access Point Wireless Adapter PCMCIA card for Portable devices Wireless PCI adapter Card USB Wireless Access

52 LAN Protocol Local Area Network
LAN เกี่ยวข้องกับ OSI เพียง 2 Layer เท่านั้น แต่ในกรณีที่นำ LAN มากว่า 1 วงมาเชื่อมต่อกันจึงจะเกี่ยวข้องกับ OSI ใน Layer ที่ 3 ข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับ LAN ในลำดับชั้น Data Link Layer ของ IEEE 802 จะแบ่งลำดับชั้นนี้ออกเป็น 2 ชั้นย่อย(Sub Layer) ได้แก่ Logical link Layer (LLC) และ Medium Access Control (MAC)

53 Local Area Network LAN Protocol

54 Questions & Answers Q&A


ดาวน์โหลด ppt Local Area Network Ethernet/Token Ring/FDDI/Wireless

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google