ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBaroma Nut ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เรื่อง... ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและ
การ์ตูนวิชาการ เรื่อง... ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและ ประวัติศาสตร์ไทย
2
กำลังกลุ้มเรื่องการทำรายงานสาระประวัติศาสตร์
เจนนี่ ..มีเรื่องอะไรถึงดู ไม่แฮ้ปปี้เลย
3
อาจารย์น่ะสิ ให้เรามาทำรายงานเรื่อง ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล และประวัติศาสตร์ไทยนะขิม
4
ออ..ขิมกับเพื่อนๆเพิ่ง ไปค้นหาข้อมูลกันมา พวกเรา จะสรุปให้เจนนี่ฟังละกันนะ เจนนี่จะได้นำเอาข้อมูลไป
ทำรายงานได้ จริงเหรอขิม ว้าวๆๆ อย่างนี้ เจนนี่ต้องเตรียมสมุดกับปากกาก่อนนะ เอาล่ะ เจนนี่พร้อมแล้ว ขิมเรียกเพื่อนๆมา ได้เลย
5
ความสัมพันธ์ อย่างแรกเลยแล้วกัน ได้แก่ ประวัติศาสตร์ไทยและ ประวัติศาสตร์สากลนั้น มีการแบ่งยุคสมัยที่เหมือนกันจ้ะ รายละเอียดจะเป็นอย่างไรนั้น เดี๋ยวขิมให้ใบเตยเป็นผู้อธิบาย แล้วกันนะ
6
แหม โยนมาที่ใบเตยเฉยเลยนะขิม แต่ไม่เป็นไร เรื่องแบบนี้ ใบเตยถนัดนัก
เรื่องการแบ่งยุคสมัยนั้น ประวัติศาสตร์ไทย ก็มีการแบ่งยุคคล้ายกับการแบ่ง ยุคทางประวัติศาสตร์สากล โดยแบ่งออกเป็น 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2. สมัยประวัติศาสตร์
7
2. ยุคโลหะ ได้แก่ ยุคทองแดง ยุดสำริด และยุคเหล็กจ้ะ
ในยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นก็แบ่งเป็นสมัยต่างๆคือ 1. ยุคหิน ได้แก่ ยุคหินเก่า หินกลาง และ หินใหม่ 2. ยุคโลหะ ได้แก่ ยุคทองแดง ยุดสำริด และยุคเหล็กจ้ะ แต่ในยุคประวัติศาสตร์นั้น ประวัติศาสตร์ไทยแบ่งตามระยะเวลาการใช้เมืองหลวงเรียกชื่อตามสมัย
8
ซึ่งมีดังต่อไปนี้จ้ะ
1.ประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยระยะเวลาประมาณ พ.ศ. 800 ปี ถึง พุทธศตวรรษที่ 18(พ.ศ.1792) 2. ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยระยะเวลา ประมาณ พ.ศ 3. ประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาระยะเวลา พ.ศ – 2310 4. ประวัติศาสตร์สมัยธนบุรีระยะเวลา พ.ศ – 2325 5. ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ระยะเวลา พ.ศ – ปัจจุบัน จ้ะ
9
ซึ่งไม่เหมือนกับของประวัติศาสตร์สากลที่แบ่งสมัยดังนี้จ้ะ 1
ซึ่งไม่เหมือนกับของประวัติศาสตร์สากลที่แบ่งสมัยดังนี้จ้ะ 1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ คือ จาก 5, ปีก่อนคริสตกาล ถึง ค.ศ ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ระยะเวลาตั้งแต่ ค.ศ.500 – 1500 3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1500 ถึง ปัจจุบัน จ้ะ เรื่องนี้เฟิร์นจำได้แม่น เลยขออธิบาย แทรกซะเลยคงไม่ว่ากันนะ ใบเตย
10
ไม่ว่าหรอกจ้ะ ดีซะอีก จะได้ช่วยกัน ทำให้เจนนี่เข้าใจได้ดีขึ้นไง เอาล่ะ มาฟังเรื่องการนับศักราชที่สัมพันธ์กัน ระหว่างประวัติศาสตร์สากลกับประวัติศาสตร์ไทยจากเจ้าแม่นักคำนวณปีศักราชอย่าง หนูนากันเลยจ้า เจนนี่ต้องตั้งใจฟังดีๆนะ เพราะหนูนานะเป็นพูดเร็วมาก พวกเราฟังทีไรไม่เคยทันเลย ต้องขอรอบสอง
11
ไม่ค่อยจะขายกันเลยนะ ใบเตย
เอาล่ะจ้ะ เข้าเรื่องกันดีกว่า ก่อนอื่นเราต้องรู้ความหมายของศักราชกันก่อนนะ ศักราช หมายถึง ปีที่กำหนดเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งสำคัญมากสำหรับจดจารึกไว้ ศักราชที่มีกำหนดไว้มี คือพุทธศักราช (พ.ศ.) รัตนโกสินทร์ศก หรือ ร.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) คริสต์ศักราช (ค.ศ.) และมหาศักราช (ม.ศ.)
12
ซึ่งจากที่หนูนาสังเกตเนี่ยก็เห็นได้ว่า พุทธศักราชของไทยเรา และคริสต์ศักราชที่ใช้กันเป็นสากลมาจนถึงปัจจุบันนั้น ได้ยึดหลักการนับมาจากศาสดาเหมือนกันเลยล่ะจ้ะ จะแตกต่างกันแค่นิดเดียวเอง จะเป็นยังไงนั้น ต้องฟังกันดีๆนะจ้ะ
13
พุทธศักราช (พ.ศ.) เริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ซึ่งเดิมนับเอาวันเพ็ญ เดือน 6 เป็นวันเปลี่ยนศักราช ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงให้ถือเอาวันที่ 1 เมษายนแทน อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมารัชกาลที่ 8 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เสียใหม่
14
คริสต์ศักราช (ค. ศ. ) เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูเกิดเป็น ค. ศ
คริสต์ศักราช (ค.ศ.) เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูเกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี การคำนวณเดือนของ ค.ศ. จะเป็นแบบสุรยคติ ดังนั้นวันขึ้นปีใหม่ของ ค.ศ. จะเริ่มในวันที่ 1 มกราคมของทุกปี จ้ะ
15
สิ่งที่แตกต่างก็คือ ของไทยเราเริ่มนับจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน แต่สากลนั้น นับจากพระเยซูประสูติ แต่ทั้งสองก็ยึดศาสดาของตนเป็นหลักใน การนับเช่นเดียวกันจ้ะ
16
เมย์ หนูนายังพูดไม่จบเลยนะ แย่งหนูนาพูดเฉยเลย โกรธดีมั๊ยเนี่ย ล้อเล่นน่ะจ้ะ
ก็เมย์เห็นหนูนาพูดเร็ว เลยกลัวว่าหนูนาจะเหนื่อย ก็เลยช่วยอธิบายให้ไง เป็นไงบ้างเจนนี่ พอจะสรุปข้อมูลที่พวกเราพูดได้ไหมจ้ะ
17
พวกเธอเก่งกันจังเลย เจนนี่ฟังแป๊ปเดียวเอง แต่เข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้งเลย ขอบใจขิมและเพื่อนๆมากๆเลยนะจ้ะ
18
ไม่เป็นไรจ้า !!!
19
ขอบคุณแหล่งข้อมูล http://board.dserver.org/e/eleven/00000679.html
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.