งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้และนโยบายสาธารณะ วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เสวนาใน การประชุม นักวิจัยใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ครั้งที่ ๑๐ วันที่ ๑๖ ต.ค. ๕๓

2 การจัดการความรู้ KM – Knowledge Management
มีหลายสำนัก ตีความหลายแบบ ในที่นี้ใช้แนวของ สคส. (สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม)

3 การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการของนักปฏิบัติ / เจ้าหน้าที่ประจำ
เพื่อ ใช้ & สร้าง ความรู้ในการทำงาน เกิดการยกระดับความรู้จากการทำงาน ทำให้ตนเองเป็น บุคคลเรียนรู้ (Learning Person) เรียนรู้ตลอดชีวิต องค์กร เป็นองค์กรเรียนรู้ (Learning Organization) เกิด CQI, Innnovation ในทุกจุดขององค์กร

4 การจัดการความรู้ ไม่ใช่จัดความรู้ให้คนอื่นใช้
เป็นการ “จัดการ” เพื่อให้ตนเอง & ทีมงาน เครือข่าย มี ค. ใช้งาน และยกระดับ ค. เรื่องนั้นไปไม่สิ้นสุด เน้นที่ TK ค. ปฏิบัติ / ฝังลึก / จากประสบการณ์

5 องค์ประกอบของการจัดการความรู้
KM Capture Creation Utilization Sharing Modification Storage Goal งาน คน ความสัมพันธ์ องค์กร

6 SECI Model of K Spiral T = Tacit Knowledge E = Explicit Knowledge
Internalization Socialization Combination Externalization T = Tacit Knowledge E = Explicit Knowledge

7 บทบาทของนักวิจัย ร่วม “ถอดความรู้” T -> E externalization โดยร่วมฟัง storytelling โดยผู้ปฏิบัติ และตีความ why ด้วย EK / ค. ทฤษฎี อธิบาย/ตอบ ไม่ได้ ไม่แน่ใจ -> โจทย์วิจัย ทำวิจัยตอบโจทย์จาก KM ของผู้ปฏิบัติ ทำหน้าที่วิทยากรกระบวนการ (K Facilitator) หรือ “คุณอำนวย”

8 วัตรของนักวิจัยที่ต้องการเชื่อมต่อกับ KM
ไปคลุกคลี สนิทสนม กับนักปฏิบัติ เข้าไปแบบ เท่าเทียม ลปรร. กัน นักวิจัยมี EK ผู้ปฏิบัติมี TK ผู้ปฏิบัติได้ยกระดับ ค. นักวิจัยได้โจทย์วิจัย และได้ประยุกต์ ค. ในการตีความการปฏิบัติ นักวิจัยพื้นฐาน + นักวิจัยเพื่อสังคม (ประยุกต์) ร่วมมือกัน นักวิจัยเพื่อสังคม ทำหน้าที่ “คุณอำนวย” (K Facilitator)


ดาวน์โหลด ppt บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google