ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKanisorn Prachuab ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 9
การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะ มหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 9 วัน ศุกร์ที่ 11 ตุลาคม2556 เวลา 14.00น.
2
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
1.1 ผลการดำเนินงานโครงการปุ๋ยหมัก 2556 ประเภทปุ๋ย เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงเล็ก) 543 366 249 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงใหญ่) 104 50 138 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบเม็ด) 223 5 48 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบผง) 1,000 3,886 ยอดจำหน่ายสะสมทั้งเดือน (บาท) 27,750 15,170 18,320
3
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
1.1 ผลการดำเนินงานโครงการปุ๋ยหมัก 2556 (ต่อ) ประเภทปุ๋ย กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงเล็ก) 526 249 463 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (ถุงใหญ่) 92 185 106 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบเม็ด) 11 21 15 ยอดจำหน่ายปุ๋ย (แบบผง) 1,000 ยอดจำหน่ายสะสมทั้งเดือน (บาท) 19,670 19,860 20,710
4
กราฟเปรียบเทียบยอดจำหน่ายปุ๋ยหมักศาลายา ปี 2555-2556
5
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
1.2 ผลการดำเนินงานโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล 2556 รายได้ เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) 16,193.60 24,531.90 23,796.10 24,465.52 ยอดจำหน่าย (บาท) 89,187.51 136,268.35 114,638.88 123,063.05 ยอดรายรับ (บาท) 11,020.04 17,873.49 17,251.08 17,576.26
6
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
ผลการดำเนินงานโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล 2556 (ต่อ) รายได้ สิงหาคม กันยายน สรุปรวมทั้งหมด ตั่งแต่เริ่มถึงปัจจุบัน ปริมาณขยะ (กิโลกรัม) 26,911.50 17,268.80 953,337.54 ยอดจำหน่าย (บาท) 128,330.19 89,594.92 6,257,779.80 ยอดรายรับ (บาท) 18,929.05 11,054.08 837,193.64
7
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
สรุปจำนวนสมาชิกธนาคารขยะรีไซเคิล นักศึกษา 1,512 บุคลากร 524 ร้านค้าในมหาวิทยาลัย 26 คณะ/สถาบัน/หน่วยงาน 62 บริษัทที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย 197 บุคคลภายนอก 20 รวม 2,341
8
วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
กราฟเปรียบเทียบปริมาณขยะรีไซเคิล ปี
9
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม
เอกสารประกอบรายงานการประชุมครั้งที่ 8-2/2556 จากเว็บไซต์กองกายภาพฯ
10
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
3.1 Housing ที่เก็บถังคัดแยกขยะมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะ แบ่งออกเป็น 4 ชนิดคือ กล่องเครื่องดื่ม ขยะทั่วไป แก้ว กระป๋องและขวดพลาสติกจำนวน 10 จุดภายในมหาวิทยาลัยเช่น ป้ายรถราง ด้านหน้าอาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล ทางเดินด้านข้างสำนักหอสมุด
11
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
12
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
3.2 ผลการจัดเก็บขยะอันตราย(หลอดนีออน ถ่ายไฟฉาย กระป๋องสเปรย์ ฯลฯ) ของศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม (COSHEM)
13
วาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา
4.1 การเก็บข้อมูล UI Green 2013 ด้านการจัดการของเสียในส่วนงาน ( โปรดพลิกแบบสอบถามอีกด้าน)
14
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.