ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKanok Khadpo ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช พ.ศ. 2546
2
การควบคุมระบบปฏิบัติการ การจำแนกประเภทผู้ป่วยในปัจจุบัน
พยาบาลหัวหน้าเวร/หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้จำแนกประเภทผู้ป่วยเมื่อใกล้เวลาสิ้นสุดแต่ละเวร เพื่อ ประเมินผล (Re-evaluation) การจัดอัตรากำลังในเวรที่ผ่านมา และ คาดประมาณความต้องการบุคลากรให้กับเวรถัดไป ป้องกันความลำเอียงที่เกิดจากการให้ค่าการจำแนกที่สูงเกินความเป็นจริงเพื่อให้ได้บุคลากรเพิ่มขึ้นในเวรตนเอง
3
การควบคุมระบบปฏิบัติการในปัจจุบัน (ต่อ)
ward ส่งใบแจ้งจำนวนผู้ป่วยแต่ละประเภทให้ ผู้รับผิดชอบในระดับงานและฝ่ายการพยาบาล ได้แก่ ผู้ช่วยหัวหน้างาน และ รองหัวหน้าฝ่ายด้านการบริหาร
4
วัตถุประสงค์ กำหนดระบบและเกณฑ์การประเมินความเชื่อถือได้ของการจำแนกประเภทผู้ป่วย นำไปใช้ทดสอบความถูกต้องของการจำแนกประเภทผู้ป่วยของผู้จำแนกในหอผู้ป่ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยและความสามารถในการประเมินความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย
5
ขั้นตอนของระบบ IRR TESING
ผู้ทำหน้าที่ IRR Tester มีคุณสมบัติดังนี้ มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนั้นๆเป็นอย่างดี มีความรู้ในการใช้เครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยเป็นอย่างดี สามารถปฏิบัติบทบาทของ IRR Tester ได้ ได้คะแนนทดสอบ IRR Score มากกว่า 80%
6
Peer Review ในช่วงเริ่มต้นระบบ โดย
IRR Tester คือ คณะกรรมการอัตรากำลังฯที่เป็นตัวแทนในงานนั้นๆ ทำหน้าที่ Outer Rater Unit Rater คือ ผู้ช่วยหัวหน้างานด้านบริหาร และหัวหน้าหอผู้ป่วยใน ward ที่ถูกสุ่มเลือก จำนวน 20% ของ ward ทั้งหมด
7
วิธีการ Interactive Validation สุ่มเลือกผู้ป่วยจำนวน 5 ราย
IRR-Testerจากภายนอกหน่วยงาน และ Unit Raters จำแนกประเภทผู้ป่วยทั้ง 5 รายที่สุ่มเลือกโดยใช้เกณฑ์ของฝ่ายการพยาบาล ในการสังเกตครั้งเดียวกัน ผู้ประเมิน(IRR-Tester) ลงบันทึกจำนวนความคลาดเคลื่อนของการจำแนกผู้ป่วยแต่ละราย ในส่วนของตัวแปรเกณฑ์ที่มีการจำแนกไม่ตรงกัน ในแบบบันทึกการประเมินค่าความเชื่อถือได้ในการจำแนกประเภทผู้ป่วย หรือ Interrater Reliability (IRR)Record Sheet
8
วิธีการ (ต่อ) 4. นำผลการประเมินไปหาค่าความคลาดเคลื่อนของการจำแนกประเภทผู้ป่วย หรือ Error Coefficient(%) และ ค่าความเชื่อถือได้ หรือ Reliability Coefficient(%) 5.ผู้ประเมิน(IRR-Tester)สรุปปัญหา วางแผน แก้ไขปัญหาและลงบันทึกการติดตามผล รวมทั้งประเมินซ้ำจนกว่าค่าความเชื่อถือได้ของการจำแนกประเภทผู้ป่วย จะเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 80
9
การดำเนินงาน IRR Testing
นัดหมาย Unit Rater จัดทำตารางสำหรับการทำ IRR Testing ในแต่ละหอผู้ป่วยที่สุ่มเลือก(20%) แจ้งวันที่จะทำการทดสอบล่วงหน้าก่อนการประเมิน
10
เกณฑ์การประเมินผล ค่าความคลาดเคลื่อน
หรือ Error Coefficient(%) น้อยกว่า 20% ค่าความเชื่อถือได้ หรือ Reliability Coefficient(%) มากกว่า 80%
11
การฝึกอบรม IRR Tester จุดประสงค์ของ IRR Testing วิธีการทำ IRR Testing
การใช้แบบบันทึก IRR Score การกำหนดข้อผิดพลาด การให้ความรู้/ทบทวนเมื่อทำการทดสอบ การให้ข้อเสนอแนะอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับการ ทดสอบ
12
IRR Record Sheet
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.