งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
ความหมาย จริยศาสตร์ หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยสิ่งใดควรทำไม่ควรทำ สิ่งที่ควรทำสามารถนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่พึงประสงค์ เกณฑ์ตัดสินว่าการกระทำใด ควรทำ (ดี) ไม่ควรทำ (ชั่ว) ความดีคืออะไร ปรัชญาทั่วไป

2 ดี-ชั่ว มีอยู่จริงหรือไม่ ดี-ชั่ว มีอยู่จริง เพราะ -จิตใจ
-กรรม คือการกระทำ -ผลของกรรม -การเกิด-ตาย ปรัชญาทั่วไป

3 จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา - ประโยชน์ ๓ ๑. ทิฏฐิธัมมิกัตถประโยชน์
อุดมคติของชีวิตคืออะไร - ประโยชน์ ๓ ๑. ทิฏฐิธัมมิกัตถประโยชน์ ๒. สัมปรายิกัตถประโยชน์ ๓. ปรมัตถประโยชน์ อุดมคติสูงสุด คือประมัตถประโยชน์ ได้แก่ พระนิพพาน ปรัชญาทั่วไป

4 ความดี คืออะไร ความดี คือ การกระทำที่ประกอบด้วยกุศลมูล คือ ความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ความชั่วคือการทำที่ตรงกันข้าม ปรัชญาทั่วไป

5 เกณฑ์ตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม
๑. การกระทำที่ไม่มีโลภ โกรธ หลง เป็นตัวชี้นำ ๒. เป็นการกระทำที่บัณฑิตสรรเสริญ ๓. เป็นการกระทำที่ไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ๔. เป็นการกระทำที่ทำแล้วมีประโยชน์ในการพัฒนาชีวิตให้ดีงาม ปรัชญาทั่วไป

6 เกณฑ์ตัดสินดีชั่วทางสังคม
อัตตาธิปไตย ยึดถือตนเป็นสำคัญ คณาธิปไตย ยึดถือพวกพ้องเป็นสำคัญ ธรรมาธิปไตย ยึดถือความถูกต้องชอบธรรมเป็นสำคัญ ปรัชญาทั่วไป

7 วิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุจุดหมาย
จริยธรรมระดับต้น คือ ศีล จริยธรรมระดับกลาง กุศลกรรมบถ จริยธรรมระดับสูง อริยมรรคมีองค์ ๘ แบบเข้มข้น ปรัชญาทั่วไป

8 กุศลกรรมบถ    ๑. แปลว่า ทางเกิดแห่งกุศลกรรมที่ส่งผลในปฏิสนธิกาลได้    ๒. แปลว่า กุศลกรรมที่เป็นเหตุเกิดในสุคติภูมิ และความสุขในสุคติภูมินั้น มี ๑๐ ประการ   ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง     ๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย     ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม      ทั้ง ๓ นี้ จัดเป็นกายกรรม เพราะเป็นไปทางกายทวารโดยมาก              ปรัชญาทั่วไป

9 ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ ๕
๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ     ๕. ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด     ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดคำหยาบ     ๗. สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ทั้ง ๔ นี้ จัดเป็นวจีกรรม เพราะเป็นไปทางวจีทวารโดยมาก     ๘. อนภิชฌา ไม่โลภอยากได้ของเขา     ๙. อพยาปาท ไม่พยาบาทปองร้ายเขา     ๑๐. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม         ทั้ง ๓ นี้ จัดเป็นมโนกรรม เพราะเป็นไปทางมโนทวารโดยมาก ปรัชญาทั่วไป

10 อริยมรรค มีองค์ ๘ ปรัชญาทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google