งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา
กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2209) วาดโดยบริษัทดัตช์ตะวันออก

2 แผนที่อาณาจักรอยุธยาประมาณ พ.ศ. 1953 (สีม่วงเข้ม

3 พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยา
ลักษณะโดยรวมของพุทธศาสนาในสมัยอยุธยามีลักษณะคือ โดยมากมุ่งแต่การบุญการกุศล บำรุงพระสงฆ์ สร้างวัดวาอาราม ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ พิธีกรรม งานฉลองนมัสการ เช่น ไหว้พระธาตุและพระบาท เป็นต้น การบำเพ็ญจิตภาวนาก็เน้นไปทางความศักดิ์สิทธิ์อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์เสียเป็นส่วนใหญ่ มีเรื่องไสยศาสตร์ อาถรรพณ์เข้ามาปะปนเป็นอันมาก  การพระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยานั้นเมื่อว่า

4 โบราณสถานทางพุทธศาสนาที่สำคัญ
วัดพุทไธสวรรค์ (พ.ศ. 1896)

5 บทบาทของวัดพุทไธสวรรค์
วัดนี้สร้าง ณ ตำบลเวียงเหล็ก สมโจพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสร้าง เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่ย้ายมาสร้างอยุธยา เป้นวัดที่ใช้ฝึกฝนวิชาการทหาร “พิชัยสงคราม” เป็นที่ประทับของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ สมเจพระสังฆราชฝ่ายขวา ซึ่งเป็นคณะสงฆ์ดั้งเดิม

6 วัดใหญ่ชัยมงคล (พ.ศ. ๑๙๐๐) หรือคณะวัดป่าแก้ว เน้นวิปัสสนาธุระ สร้างให้พระสงฆ์ที่กลับมาจากไปศึกษา ณ ประเทศศรีลังกา มีสมเด็จพระวันรัตน์ ประทับที่วัดนี้ เป้ฯสังฆราชฝ่ายซ้าย

7 พระพุทธศาสนาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๙๙๑-๒๐๓๑
พระพุทธศาสนาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๙๙๑-๒๐๓๑ ทรงถวายวังให้เป็นวัด คือวัดพระศรีสรรเพชญ์ ต่อมาพระราชโอรสได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ห่อหุ้มด้วยทองคำหนัก ๒๒,๘๘๐ บาท ทรงหล่อรูปพระโพธิสัตว์ ๕๐๐ ชาติ เมื่อปี พ.ศ. ๑๙๖๗ เกิดคณะสงฆ์วัดป่าแก้ว ซึ่งเป็นพระสงฆ์ไทยเคยไปเรียนที่ศรีลังกา ทำให้มีการบาดหมางกับคณะสงฆ์เดิม ทรงผนวช ณ วัดจุฬามณี ที่ทรงให้สร้างขึ้นเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๐๘ ผนวชเมื่อครองราชย์ได้ ๑๗ ปี มีข้าราชบริพารบวชตามจำนวน ๒,๓๘๘ รูป

8

9 วัดพรศรีสรรเพชรญ์ ภาพจาก

10 กำหนดให้มีประเพณีการบวชของเจ้านาย ข้าราชการผนวชเรียนระยะหนึ่ง
พ.ศ.๒๐๕๓ เกิดวรรณคดีทางพุทธศาสนา คือ มหาชาติคำหลวง วรรณกรรมทางพุทธศาสนาเล่มแรกในสมัยอยุธยา เกิดประเพณีที่ผู้มีฐานะสร้างวัดจนมีคำกล่าวว่า “บ้านเมืองดี เขาสร้างวัดให้ลูกเล่น”

11 เกิดการเปลี่ยนแลงพุทธศิลป์ตามแบบขอมเป็นแบบสุโขทัย การสร้างปรางค์แบบศิลปกรรมสมัยลพบุรีซึ่งเป็นอิทธิพลจากขอม ได้เสื่อมลงได้มีเจดีย์รางระฆังคว่ำแบบลังกาเขามาแทนที่ เปลี่ยนแปลงศิลปในการสร้างพุทธรูปตามอิทธิพลขอมมาเป็นแบบสุโขทัย เช่นพระพุทธรูปยืน คือพระศรีสรรเพชญ์หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ถวายพระนามว่า "พระศรีสรรเพชญ ดาญาณ" ซึ่งภายหลังเมื่อเสียกรุง พ.ศ.2310 พม่าได้เผา ลอกทองคำไปหมด และองค์พระพังยับเยิน 

12 นิยมบวชเรียน จนเกิดช่องว่างให้คนปลอมบวช จนพระองค์ทรงมีรับสั่งให้ออกหลวงสรศักดิ์ เป็นแม่กองประชุมสงฆ์สอบความรู้พระภิกษุสามเณร เพื่อตรวจสอบผู้ที่เข้ามาบวชแล้วไม่สนใจศึกษาพระปริยัติธรรม มีการให้ลาสิขา(สึก)สำหรับผู้หลบหนีมาบวชแล้วไม่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนา

13 พระเจ้าหลุยส์ได้ทรงส่งเอกอัครราชทูตมาเจริญพระราชไมตรีและให้ทูลเชิญสมเด็จพระนารายณ์เข้ารีตด้วย ใน พ.ศ. ๒๒๒๘ สมเด็จพระนารายณ์ทรงผ่อนผันด้วยพระปรีชาญาณว่า “หากพระผู้เป็นเจ้าพอพระทัยให้พระองค์เข้ารีตเมื่อใด ก็จะบันดาลศรัทธาให้เกิดขึ้นในพระทัยของพระองค์เมื่อนั้น”

14 พระพุทธศาสนาในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ.๒๒๗๕–๒๓๐๑) การบวชเรียนกลายเป็นประเพณีถึงกับว่า ผู้ที่จะเป็นขุนนางมียศบรรดาศักดิ์ต้องเป็นผู้ได้รับการอุปสมบทมาเรียบร้อยเสียก่อน เจ้านายในพระราชวงศ์ทุกพระองค์ก็เหมือนกัน แสดงว่าผลจากการฝึกอบรมตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาทำให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อบวชแล้วจึงเป็น บัณฑิต แปลว่า ผู้รู้ ครั้นลาสิกขาสึกออกมาจึงกลายเป็น ทิด ซึ่งกร่อนมาจากบัณฑิตนั่นเอง

15

16 พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบสยามวงศ์ เกิดความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาระหว่างอยุธยาและลังกา พุทธศาสนาในลังถูกพิษการเมือง เหลือสามเณรสรณังกรรูปเดียว เข้ามายังอยุธยาสมัยพระเจ้าบรมโกษฐ์ (พ.ศ.๒๒๙๔) เพื่อให้อยุธยาส่งพระธรรมฑูดไปช่วยฟื้นฟูพุทธศานาในลังกา อยุธยาได้ส่งพระอุบาลีและคณะประมาณ ๑๖ รูป ไปยังลังกา สถาปนาสยามวงศ์ที่นั่น


ดาวน์โหลด ppt พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google