ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAnada Pumpihon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สาขาวิชาภาษาจีน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ชื่อหลักสูตร: หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (Doctor of Philosophy Program in Chinese) 2. ชื่อปริญญา: อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต อ.ด. (Doctor of Philosophy Ph.D.) 3. ชื่อที่ลงในใบTranscript: Field of Study: Chinese
2
4. ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และภาวะความต้องการบัณฑิต
4.1 ปรัชญาของหลักสูตร เป็นหลักสูตรภาษาจีนระดับดุษฎีบัณฑิตที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ 4.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4.2.1 มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู้ลึกซึ้งและมีความเชี่ยวชาญทางภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีน พร้อมที่จะสอนในสถาบันอุดม ศึกษาทุกระดับ
3
4.2.2 มุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาวิชาภาษาจีน เพื่อกระตุ้นให้มีผลงานวิจัยทางด้านภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีนให้มากขึ้น และเป็นไปตามมาตรฐานสากล 4.3 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 4.3.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลงานวิจัยทางด้านภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมจีนที่เผยแพร่ในระดับสากล 4.3.2 มีความสามารถในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล และเป็นองค์ความรู้ใหม่
4
4.3.3 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน และงานที่เกี่ยวข้องได้
5. ระบบการศึกษา ใช้ระบบการศึกษาแบบหน่วยกิตเป็นแบบทวิภาค ปีการศึกษาหนึ่งๆ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ภาคการศึกษา คือ ภาคการศึกษาต้น และภาคการศึกษาปลาย และอาจมีภาคฤดูร้อนต่อจากภาคการศึกษาปลายอีกภาคหนึ่งก็ได้ ภาคการศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ส่วนภาคฤดูร้อนมีระยะเวลาการศึกษาประมาณ 6-8 สัปดาห์
5
6. ระยะเวลาการศึกษา ไม่เกิน 5 ปีการศึกษา (สำหรับหลักสูตรแบบ 1.1 และ 2.1) หรือ 8 ปีการศึกษา (สำหรับหลักสูตรแบบ 1.2 และ 2.2) 7. การลงทะเบียนเรียน ไม่ต่ำกว่า 9 หน่วยกิตและไม่เกิน 15 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษา ส่วนภาคฤดูร้อนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
6
8. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
การประเมินผลรายวิชาให้ใช้สัญลักษณ์ A B+ B C+ C D+ D และ F ส่วนวิทยานิพนธ์ใช้ ดีมาก ดี ผ่าน และ ตก โดยผลงาน วิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ของนิสิตจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer review) ก่อนการตีพิมพ์ และเป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น หรือในวารสารที่มีการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
7
9. หลักสูตรแบบ 1.1 9.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร หน่วยกิต 9.2 โครงสร้างหลักสูตร วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต ในภาคการศึกษาใดที่นิสิตไม่ได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนา นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ทุกภาคการศึกษาจนกว่าจะสำเร็จการศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิตและประเมินผลเป็น S/U
8
2222 828* วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
10. หลักสูตรแบบ 1.1 วิทยานิพนธ์ (48 หน่วยกิต) * วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation *รายวิชาเปิดใหม่
9
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่สอง
11. แผนการศึกษา แบบ 1.1 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาแรก * วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต รวม หน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่สอง * วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต *รายวิชาเปิดใหม่
10
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่สอง
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาแรก * วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต รวม หน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่สอง ปีที่ 3 ภาคการศึกษาแรก * วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวม หน่วยกิต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.