ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBannarot Chalerm ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
และแนวทางแก้ไข โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
2
หลักการ ไม่ควรแบ่งความรับผิดชอบ คนละ 3-4 มาตรฐาน โดยเด็ดขาด
7.1 หลักการ ขั้นตอน และเคล็ดลับการเขียนรายงาน ไม่ควรแบ่งความรับผิดชอบ คนละ 3-4 มาตรฐาน โดยเด็ดขาด หลักการ ไม่ควรใช้ภาษาพูดในรายงาน
3
เขียนรายงานให้ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด
ขั้นตอนการเขียน วางแผนร่วมกัน เขียนรายงานให้ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด เขียนรายงานฉบับร่าง เขียนรายงานฉบับจริง
4
เนื้อหากระชับ ตรงไปตรงมา
เคล็ดลับการเขียน เนื้อหากระชับ ตรงไปตรงมา เนื้อหาครอบคลุมสิ่งที่ควรรายงาน เข้าใจเกณฑ์การประเมินอย่างลึกซึ้ง
5
เนื้อหาครอบคลุม กระชับ
7.2 ลักษณะรายงานที่ดี รูปแบบตรง เนื้อหาครอบคลุม กระชับ
6
7.3 ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน
7.3 ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน คำนำไม่ควรมีหมายเลขหน้า ควรเรียงคำนำไว้ก่อนบทสรุปสำหรับผู้บริหาร ระบุวันที่ไปตรวจเยี่ยม ลงท้ายด้วยคำว่า “คณะผู้ประเมินภายนอก”
7
ข้อเสนอแนะแต่ละแห่งไม่ควรเหมือนกัน ข้อเสนอแนะไม่สอดคล้องกับผลประเมิน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร จุดแข็งและจุดอ่อนไม่ควรเขียนเป็นจุดๆ มีกี่จุด อะไรบ้าง ข้อเสนอแนะแต่ละแห่งไม่ควรเหมือนกัน ข้อเสนอแนะไม่สอดคล้องกับผลประเมิน
8
สารบัญ สั้นไป ยาวไป ไม่ตรงรูปแบบ สมศ.
9
มีเนื้อหาไม่ครอบคลุม สั้นไป ยาวไป
ตอนที่ 1 มีเนื้อหาไม่ครอบคลุม สั้นไป ยาวไป
10
ข้อมูลขาดความเป็นตัวแทน
ตอนที่ 2 ตัดสินผลประเมินผิด ข้อมูลขาดความเป็นตัวแทน field note สรุปสั้นไป เขียนแบบเกรงใจผู้บริหารเกินไป มักขาดข้อมูลมาตรฐานที่ 5, มาตรฐานที่ 12 เน้นเอกสารมากเกินไป
11
ตอนที่ 3 ไม่เข้าใจบริบทโรงเรียน แนวทางพัฒนาในอนาคต ไม่ได้มาจากผลประเมิน ขาดความเชื่อมโยงกับการปฏิบัติจริง เขียนเป็นท่อนๆ แต่ละตัวบ่งชี้ แต่ละมาตรฐาน ขาดองค์รวม
12
ภาคผนวก มีข้อมูลไม่ครบ
13
รายงานการประเมินคุณภาพในรอบแรกที่ผ่านมามักจะขาดคุณลักษณะดังนี้ :-
สรุป รายงานการประเมินคุณภาพในรอบแรกที่ผ่านมามักจะขาดคุณลักษณะดังนี้ :- 1. หลักเอกภาพ เนื่องจากเป็นการนำรายงานของแต่ละคน มาต่อกัน บางครั้งแต่ละคนเขียนคนละแนว
14
สรุป (ต่อ) 2. หลักความสอดคล้องกับสถานศึกษา เนื่องจากผู้ประเมินมีคำตอบบางส่วนในใจไว้ล่วงหน้าแล้ว และเป็นความจริงที่สามารถใช้ได้กับทุกแห่ง ทุกเวลา แต่ไม่เหมาะสมกับสถานศึกษาที่ไปประเมินนั้นๆ เนื่องจากเกินความสามารถ ขาดงบประมาณ ขาดบุคลากร ขาดผู้นำ เป็นต้น
15
สรุป (ต่อ) 3. ขาดความจริงใจ เป็นรายงานที่มีแต่ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ และตามมาตรฐานตามที่ สมศ. กำหนดเท่านั้น ในรายงานจะเต็มไปด้วยชื่อตัวบ่งชี้ เขียนเรียงต่อกันเหมือนต้องการ ทำหน้าที่ให้เสร็จ ข้อมูลอื่นที่นอกเหนือจาก ตัวบ่งชี้ดังกล่าวไม่ให้ความสำคัญ
16
สรุป (ต่อ) 4. ไม่เป็นรายงานที่มุ่งเน้นการพัฒนาอย่างแท้จริง เป็นรายงานที่มุ่งปริมาณมากกว่าการมุ่งคุณภาพ
17
ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน
1. ในรายงานมีการอธิบายบริบทสถานศึกษาได้แก่สภาพทั่วไป การดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน เพียงพอหรือไม่ มีการอธิบายวิธีการดำเนินงานประเมิน การได้มาซึ่งข้อมูล เก็บข้อมูลจากหลายแหล่งหรือไม่ 2.
18
ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ)
3. ข้อมูลที่ได้มีความเพียงพอและมีความเป็นตัวแทนหรือไม่ มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ 4. รายงานผลประเมินถูกต้องตามเกณฑ์ มีข้อค้นพบตรงไปตรงมาและมาจากข้อมูลหรือไม่
19
ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ)
5. ข้อเสนอแนะมาจากผลประเมิน เป็นรูปธรรมที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงหรือไม่ เกินศักยภาพของโรงเรียนหรือไม่ 6. มีการระบุจุดแข็งพร้อมวิธีเสริมให้ดีขึ้น ระบุจุดอ่อนพร้อมวิธีแก้ไขภายใต้ข้อมูล ผลประเมินและบริบทโรงเรียนหรือไม่
20
ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ)
7. เป็นรายงานที่ตรงตามรูปแบบที่ สมศ. กำหนด หรือไม่ 8. เป็นรายงานที่มีการบูรณาการ ใช้ได้ในชีวิตประจำวันจริง และมีประโยชน์หรือไม่
21
ประเด็นในการตรวจสอบรายงาน (ต่อ)
9. เป็นรายงานที่ใครอ่านก็เข้าใจตรงกันว่า ให้ใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร หรือไม่ 10. เป็นรายงานที่ได้รับการตรวจสอบทั้งจากทีมผู้ประเมินด้วยกันและจากผู้ประเมินอภิมานประจำหน่วยหรือไม่
22
The End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.