ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
10 โครงสร้างอะตอม (Atomic structure) J.J. Thomson (1879) J.J. Thomson ( ) ค้นพบอิเล็กตรอน ซึ่ง - มีประจุไฟฟ้าลบ - มีมวลประมาณ1/2000 ของมวลของ H โดยศึกษาพฤติกรรมของ หลอดรังสีแคโทด ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
2
11 Cathode ray tube
3
มีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับ
12 = x คูลอมบ์ / กรัม e m e m มีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับ ชนิดของแก๊ส ชนิดของโลหะขั้วไฟฟ้า ชนิดของสารที่ใช้ทำหลอดรังสีแคโทด
4
Robert Millikan (1909) 13 หาประจุของอิเล็กตรอนโดย Millikan’s oil-drop experiment
5
ประจุของอิเล็กตรอน (e) = 1.60 x 10-19 คูลอมบ์
14 ประจุของอิเล็กตรอน (e) = x คูลอมบ์ มวลของอิเล็กตรอน (m) = 1.60 x C 1.76 x 108 C/g = x g
6
Marie and Pierre Curie พบว่า ธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่า Bi จะปลด
15 Marie and Pierre Curie พบว่า ธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่า Bi จะปลด ปล่อยอนุภาคที่มีพลังงานสูง (รังสี a, b, g) ได้เอง
7
16 - +
8
Rutherford, Geiger & Marsden (1911)
17 Rutherford, Geiger & Marsden (1911) Rutherford ศึกษาการกระเจิง (scattering) ของอนุภาค a โดยแผ่นทองคำบางๆ
9
- ส่วนใหญ่ผ่านแผ่นทองคำบางๆโดยไม่มีการเบี่ยงเบน
18 พบว่าอนุภาค a - ส่วนใหญ่ผ่านแผ่นทองคำบางๆโดยไม่มีการเบี่ยงเบน - ส่วนน้อยมากสะท้อนกลับ - บางส่วนเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง
10
19 Rutherford เสนอว่า อนุภาคที่ทำให้อนุภาค a เกิดการสะท้อนกลับ (นิวเคลียส) 1. มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ~ 10-13cm ; ขนาดเล็กมาก 2. มีมวล > 99% ของมวลอะตอม ; เป็นบริเวณที่มีความหนาแน่นสูง 3. มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก มีมวล ~ 1/2 ของมวลอะตอม
11
Van der Broek (1913) พบว่าประจุนี้เท่ากับเลขอะตอม (Z)
20 Van der Broek (1913) พบว่าประจุนี้เท่ากับเลขอะตอม (Z) ซึ่งพิสูจน์โดย Chadwick (1920)
12
อะตอมนิวเคลียร์ (The Nuclear Atom)
21 อะตอมนิวเคลียร์ (The Nuclear Atom) นิวเคลียส เส้นผ่านศูนย์กลาง ~ cm ปริมาตร ~ cm3 ประจุไฟฟ้าบวก = เลขอะตอม
13
ความหนาแน่นเชิงมวล ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นเชิงมวลของสาร
22 ความหนาแน่นเชิงมวล ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นเชิงมวลของสาร ความหนาแน่นประจุไฟฟ้า ~ 1015 เท่าของความหนาแน่นประจุไฟฟ้าของสาร แต่ละนิวเคลียสอยู่ห่างกัน ~ 10-8 cm ปริมาตรช่องว่าง ~ cm
14
ไอโซโทป (ISOTOPES) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันซึ่งมีประจุ
23 ไอโซโทป (ISOTOPES) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันซึ่งมีประจุ ในนิวเคลียสเท่ากัน แต่มีมวลต่างกัน มวลอะตอมเฉลี่ย = S (%ไอโซโทปในธรรมชาติ x มวลอะตอม) 100
15
ตัวอย่างที่ 1 คลอรีนที่เกิดในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป คือ และ
24 ตัวอย่างที่ 1 คลอรีนที่เกิดในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป คือ และ มีมวลอะตอม และมีในธรรมชาติ 75.53% มีมวลอะตอม และมีในธรรมชาติ 24.47% จงคำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของ Cl 17Cl 35 37 35Cl 37Cl มวลอะตอมเฉลี่ย = (75.53 x 34.97)+(24.47 x 36.97) 100 =
16
25 Thomson (1913) ประดิษฐ์ Mass Spectrometer ใช้หามวลอะตอม
17
26
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.