ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผักกาดดองจ๊า
2
คณะผู้จัดทำ นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔
นางสาว กรภัทร ประยูรมณีรัตน์ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๑๔ นางสาว ปาลิตา เพ็ชรศิริ ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๔ นางสาว สรัญญา เกมะยุรา ชั้น ม.๔/๔ เลขที่ ๒๕ โรงเรียน ดัดดรุณี
3
ส่วนประกอบ 1.ผักกาดเขียว
2.เกลือ 1/2 ของถ้วย 3.ข้าวสาร 1/2 ของถัวย 4.น้ำเปล่าสำหรับต้ม อุปกรณ์ 1.ภาชนะสำหรับดอง 2.หม้อต้มน้ำ 3.ตะกร้าแบน
4
กรรมวิธีการทำ 1. ล้างผักให้สะอาด แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้ำก่อน มีแดดก็ตากแดดไว้ ๑ วัน หรือผึ่งลมเอาก็ได้ให้ผักสลด 2. หลังตากผักกาดจนสลดแล้วก็เตรียมต้มน้ำเดือด ใส่ข้าวสารต้มไฟกลางจนข้าวเปื่อยใส ราว 30 นาที
5
3.พอเดือดยกลงตั้งไว้พออุ่น
4.ม้วนผักกาดเป็นก้อนกลมๆแล้วใส่ไว้ในภาชนะสำหรับดองพร้อมกับโรยเกลือ 5. เท น้ำข้าวที่ตั้งไว้จนเย็นใส่ลงไปจนพอท่วมผัก
6
6.กดให้ผักจมน้ำแล้วนำฝาภาชนะมาปิด
7.รอจนครบ 15 วันเป็นต้นไป จึงค่อยนำออกมาปรุงอาหาร นู๋ผักกาดเองค่ะ
7
***มาดูข้อมูลกันนิด*** ผักกาดเขียวปลี หรือ ผักโสภณ ชื่อภาษาอังกฤษว่า mustard green เป็นผักในวงศ์ผักกาดกะหล่ำ (crucifer) เช่นเดียวกับผักกาดขาว ผักกาดใบและผักกวางตุ้ง ผักกาดเขียวปลี มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า brassica var. rugosa ชื่อสามัญภาษาอังกฤษเรียก leaf mustard หรือ Chinese mustard green บางทีเรียก mustard green เฉยๆ ในภาษาพูด
8
***สำคัญนะ*** ในกระบวนการดองที่ต้องมี การเปลี่ยนแปลงน้ำตาลในผักให้เป็นกรดแลคติกจะเป็นแบคทีเรียที่อยู่ใน family Lactobacteriaceae ซึ่งใน family นี้จะมีอยู่ 5 genus ได้แก่ Streptococcus Pediococcus Diplococcus Leuconostoc Lactobacillus
9
แบคทีเรียเหล่านี้เป็นแกรมบวก สร้างสปอร์ไม่ได้ ต้องการวิตามินบีรวมและกรดอะมิโนในการเจริญ ไม่สามารถเจริญได้ในสภาวะที่มีปริมาณกรดอะซิติกเข้มข้นเกินกว่า % และหากต้องการให้แบคทีเรียในกลุ่มนี้ทำให้กระบวนการหมักได้รวดเร็วขึ้น สามารถทำได้โดยการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบ สามารถแบ่งแบคทีเรียกลุ่มนี้ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ Homofermentative เป็น กลุ่มที่ใช้น้ำตาล % ในการผลิต กรดแลคติกเพียงอย่างเดียว ส่วนที่เหลือจะนำไปสร้างพลังงาน และสารประกอบที่ระเหยได้ (volatile compound) ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่ Streptococcus faecalis Pediococcus cerevisiae
10
2.Hermentative เป็นกลุ่มที่ใช้น้ำตาลประมาณ 50 % ในการผลิตกรดแลคติก อีก 25 % ใช้ในการผลิตกรดอะซิติกและเอธานอล ส่วนที่เหลือจะใช้ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่างแบคทีเรียในกลุ่มนี้ได้แก่ Leuconostoc mesenteroides , Leuconostoc fermenti
11
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.