ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThitisan Paithoonbuathong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
การใช้ Visual control ในการจัด stock สารละลาย โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
2
ความเป็นมา หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU มีการใช้สารละลาย
ชนิดต่าง ๆ 22 ชนิด เป้าประสงค์การ STOCK เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้ ในวันธรรมดาและวันหยุดราชการ
3
ขั้นตอนเดิม วิธีการเบิก: ใช้การตรวจนับจำนวนสารละลายที่เหลือบนชั้นวาง แล้วเบิกเพิ่มให้เต็มชั้นวาง
4
ขั้นตอนเดิม วิธีจัดเก็บ: 1. เลื่อนสารละลายที่เหลือมาด้านหน้า
วิธีจัดเก็บ: 1. เลื่อนสารละลายที่เหลือมาด้านหน้า 2. นำสารละลายที่เบิกใหม่เก็บเข้าด้านหลังสุด
5
ปัญหาที่พบ เบิกน้อยเกินไป มากเกินความจำเป็น ไม่จัดเก็บตามหลัก
first in first out มีการ Expire
6
ความเป็นมา การตรวจประเมินกิจกรรม 5ส ณ สถานที่ปฏิบัติงานจริง โดยผู้เชี่ยวชาญจากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) วันที่ 3 กรกฎาคม 2550 คำถาม : stock สารละลายเท่าไร เหลือเท่าไร เมื่อไรที่ต้องเบิกเพิ่ม เสนอแนะ : ให้มี Visual control ในการจัดเบิกและจัดเก็บสารละลาย
7
ความเป็นมา พัฒนาระบบ stock สารละลายขึ้นโดยมีแนวคิดหลัก
ผู้ใช้สามารถหยิบตามระบบ First in -First out ได้สะดวก ผู้เบิกต้องเก็บสารละลายระบบ First in -First out ได้สะดวก ไม่มีสารละลายหมดอายุ
8
วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้
ลดเวลาการตรวจนับในการเบิก และจัดเก็บ เพื่อลดจำนวนสารละลายที่หมดอายุ (Expire)
9
ตัวชี้วัด เวลาในการตรวจนับก่อนเบิกไม่เกิน 5 นาที
จำนวนสารละลายที่ไม่พอใช้ = 0 สารละลายเกิน Stock = 0
10
วิธีการดำเนินการ สำรวจปริมาณการใช้ จากข้อมูลการเบิกใช้สารละลายที่ผ่านมา จัดทำจำนวน Stock
11
ตัวอย่างการเก็บข้อมูลการเบิกใช้สารละลายแต่ละชนิด
วิธีการดำเนินการ จัดทำแผ่นตรวจสอบการใช้ ชนิดน้ำเกลือ ปริมาณ ml จำนวนที่ Stock ใช้ไป จำนวน คงเหลือ เบิกเพิ่ม จำนวน ที่ใช้ไปก่อนเติม หมายเหตุ 1. 5% D/N/2 1000 15 2. 10%D/NSS 10 3. 10%D/N/2 4. 5%D/N/2 5 5. 5%D/NSS 6. 5%D/NSS 20 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลการเบิกใช้สารละลายแต่ละชนิด
12
วิธีการดำเนินการ จัดทำตัวเลขลำดับตามขนาดและจำนวนขวดสารละลาย
13
วิธีการดำเนินการ(ต่อ)
แจ้งการดำเนินงานในที่ประชุม เรื่องการปรับระบบ ผู้ใช้: ให้หยิบจากเลข น้อยไปมาก
14
วิธีการดำเนินการ(ต่อ)
ผู้เบิก: ดูจากตัวเลขที่ถูกใช้ไป
15
วิธีการดำเนินการ(ต่อ)
การจัดเก็บ: เลื่อนสารละลายที่เหลือไปด้านซ้าย แล้วเติมสารละลายที่เบิก ใหม่เข้าทางด้านขวา
16
ผลการดำเนินการครั้งที่ 1
ลดเวลาในการเขียนใบเบิกจาก 15 นาทีเหลือ 5 นาที เก่า : นับจำนวนที่เหลือก่อนเบิก ใหม่ : ดูตัวเลขตามจำนวนใช้
17
ผลการดำเนินการครั้งที่ 1
ผู้ใช้: ไม่หยิบตามลำดับของตัวเลข ผู้เบิก: ไม่ทราบว่าจะเบิกเพิ่มเมื่อเหลือเท่าไร ปัญหา
18
วิธีการดำเนินการครั้งที่ 2
ทำเครื่องหมายบอกจุดเริ่มใช้ และจุดเบิกเพิ่มของ สารละลายแต่ละชนิดตามปริมาณการใช้งานที่ผ่านมา จุดเบิกเพิ่ม จุดเริ่มใช้
19
วิธีการดำเนินการ บันทึกปริมาณการเบิกและปัญหาที่พบ
จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้ สารละลาย
20
สรุปผลการดำเนินงาน ลดจำนวน Stock สารละลาย 790 445 435 355 รวม 20 15 64
ชนิดสารละลาย Stock เดิม ปรับปรุง 1 ปรับปรุง 2 ลด stock 1. 5%D/N/2 30 20 15 NSS 100 ml 110 64 56 54 ……… ………. …….. 22. 5%D/W 100 ml. 46 รวม 790 445 435 355
21
ผลการดำเนินงาน
22
สรุปผลการดำเนินงาน เป็นระเบียบสวยงาม สะดวก ตรวจสอบได้
23
ผลการดำเนินงาน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้สารละลาย 2.84 4.27 รวม 2.3
หัวข้อประเมิน ระดับความพึงพอใจ แบบไม่มีตัวเลข แบบเรียงตัวเลข 1. ความเป็นระเบียบสวยงาม 2.3 4.77 2. ความสะดวกในการหยิบใช้ 3.44 3.90 3. สารละลายมีพอใช้ 2.78 4.20 รวม 2.84 4.27
24
ประโยชน์ที่ได้รับ ลดเวลาในการจัดเบิก-จัดเก็บสารละลาย
มีสารละลายเพียงพอต่อปริมาณความต้องการในการใช้งาน ไม่มีสารละลายที่หมดอายุ ลดต้นทุนในการ stock สารละลาย
25
ชื่อผู้สร้างสรรค์ 1. คุณรัชนก พรหมจันทร์ หัวหน้าโครงการ 2. คุณอุไรวรรณ พลจร สมาชิก และที่ปรึกษา 3. คุณสุคนธ์ สุขเกษม สมาชิก 4. คุณพรทิพย์ ณ สุวรรณ สมาชิก 5. คุณชฏาพร บุญกาญจน์ สมาชิก 6. คุณนิภาพร เทิมแพงพันธ์ สมาชิก 7. คุณจำเนียร ยาสุภาพ สมาชิก ที่ปรึกษาโครงการ....คุณฉมาภรณ์ วรกุลและ คุณยุพิณ วัฒนสิทธิ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.