งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
อ.หมอ สุรเดช บัวทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่ แม่แบบนี้สามารถใช้เป็นแฟ้มเริ่มต้นสำหรับการนำเสนอเอกสารการฝึกอบรมในสภาพแวดล้อมแบบกลุ่ม ส่วน คลิกขวาที่ภาพนิ่งเพื่อเพิ่มส่วน ส่วนสามารถช่วยในการจัดระเบียบภาพนิ่งของคุณ หรืออำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกันระหว่างผู้เขียนหลายคน บันทึกย่อ ใช้ส่วน บันทึกย่อ สำหรับบันทึกย่อของการนำเสนอ หรือเพื่อให้รายละเอียดเพิ่มเติมแก่ผู้ฟัง แสดงบันทึกย่อเหล่านี้ในมุมมองงานนำเสนอในระหว่างการนำเสนอของคุณ โปรดคำนึงถึงขนาดแบบอักษร (ซึ่งมีความสำคัญต่อการช่วยสำหรับการเข้าถึง การมองเห็น การบันทึกวิดีโอ และการผลิตออนไลน์) สีที่ใช้ร่วมกันได้ ใส่ใจเป็นพิเศษกับกราฟ แผนภูมิ และกล่องข้อความ พิจารณาว่าผู้เข้าร่วมประชุมจะพิมพ์เป็นสีขาวดำ หรือในระดับสีเทา ทำการพิมพ์ทดสอบเพื่อให้แน่ใจว่าสีถูกต้องเมื่อพิมพ์เป็นสีขาวดำล้วน และในระดับสีเทา  กราฟิก ตาราง และกราฟ คงความเรียบง่าย ถ้าเป็นไปได้ ให้ใช้ลักษณะและสีที่สอดคล้องกันและไม่เบี่ยงเบนความสนใจ ใส่ป้ายชื่อให้กับกราฟและตารางทั้งหมด

2 หัวข้อเรื่องนำเสนอ การดูแลสุขภาพเบื้องต้น การนวด การกดจุดฝ่าเท้า
ให้ภาพรวมโดยย่อของงานนำเสนอ อธิบายโฟกัสหลักของงานนำเสนอและเหตุใดงานนำเสนอนี้จึงมีความสำคัญ แนะนำหัวข้อหลักแต่ละหัวข้อ เมื่อต้องการให้แนวทางแก่ผู้ฟัง คุณสามารถ เล่นภาพนิ่งของภาพรวมนี้ ซ้ำได้ตลอดทั้งการนำเสนอ โดยเน้นหัวข้อเฉพาะที่คุณจะอภิปรายถัดไป

3 การดูแลสุขภาพเบื้องต้น
ทุกคน ทุกวัยควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ และสร้างภูมิคุมกันโรค ด้วยการรักษาความสะอาดในร่างกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์หรือให้ครบห้าหมู่  ออกกำลังกายเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ พยายามลดความเครียด ลดการสูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอล์ ถ้าทุกท่านปฏิบัติได้ตามนี้จะปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆ  นี่เป็นอีกตัวเลือกหนึ่ง ของภาพนิ่งของภาพรวม ที่ใช้การเปลี่ยนภาพ

4 ระบบกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อลาย
กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ

5 ระบบกล้ามเนื้อ

6

7 โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
สาเหตุ 1. ข้อเสื่อมตามวัย พบได้บ่อยในคนอายุ 40 ปี ขึ้นไป และมีกล้ามเนื้อที่พยุงข้ออ่อนแอ 2. น้ำหนักตัวมาก ทำให้ข้อได้รับแรงกดมากเกินไป 3. ทำงานแบกหามของหนัก 4. ได้รับบาดเจ็บที่ข้อต่อ ทำให้กระดูกอ่อนที่บุปลายประดูกสึกกร่อนมีหินปูนเกาะ นี่เป็นอีกตัวเลือกหนึ่ง ของภาพนิ่งของภาพรวม

8 โรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
อาการ มักมีอาการตามข้อเข่า ข้อตะโพก ข้อกระดูกสันหลังช่วงเอว ข้อกระดูกสันหลังคอ มีอาการปวดขัดในข้อเรื้องรัง มีเสียงกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหว มักจะเป็นตอนกลางคืน ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมากขึ้นเวลาเปลี่ยนท่า เช่น ลุกจากท่านั่ง หรือเดินขึ้นบันได หรือยกของหนัก ข้อที่ปวดมักไม่มีอาการบวม แดง ร้อน แต่ถ้าเป็นมากอาจมีอาการบวม และมีน้ำขังในข้อ อะไร คือสิ่งที่ผู้ฟังจะสามารถทำได้หลังจากการฝึกอบรมนี้เสร็จสมบูรณ์แล้ว อธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับแต่ละวัตถุประสงค์ให้ผู้ฟัง ว่าผู้ฟังจะได้ประโยชน์จาก การนำเสนอนี้อย่างไร

9 3. ควรลดน้ำหนักตัว และบริหารกล้ามเนื้อ บริเวณข้อต่อให้แข็งแรง
ข้อแนะนำ 1. พักข้อ ใช้น้ำร้อนประคบ ห้ามกินยาชุด หรือยาแก้ปวดข้อที่เข้าสเตียรอยด์ 2. หลีกเลี่ยง การยกของหนัก นั่งคุกเข่า พับเพียบ ขัดสมาธิ พยามนั่งในเหยียดเข่าตรง 3. ควรลดน้ำหนักตัว และบริหารกล้ามเนื้อ บริเวณข้อต่อให้แข็งแรง 4. ถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 3 สัปดาห์ หรือข้อบวม มีอาการปวดร้าวหรือชาตามแขน ขา ควรส่งโรงพยาบาล ใช้ส่วนหัวของส่วนสำหรับแต่ละหัวข้อ เพื่อให้ผู้ฟังทราบถึงการเปลี่ยนหัวข้อได้อย่างชัดเจน

10 โรคปวดข้อรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)
สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าเป็นผลจากระบบภูมิคุ้มกันที่เกิดปฏิกิริยาต่อเนื้อเยื่อในบริเวณข้อของตัวเอง หรือ “ภูมิแพ้ต่ตัวเอง” อาการ อาการค่อยเป็นค่อยไป เริ่มชาปลายมือปลายเท้า เวลาถูกอากาศเย็นๆ ปวดเมื่อยตามตัวและข้อ ต่อมาข้เอจะอักเสบ (ปวด บวม แดง และร้อน) มักเป็นที่ข้อนิ้วมือ นิ้วเท้า ข้อมือ ข้อเท้า ข้อเข่าปวดพร้อมกันทั้ง 2 ข้าง ในตอนเช้าจะรู้สึกขยับลำบาก พอสายๆ จะค่อยทุเลาอาการปวดข้อจะเป็นทุกวันมากขึ้นเป็นลำดับ ถ้าเป็นเรื้อรังหลายปี ข้อจะแข็งและพิการได้ ใช้ส่วนหัวของส่วนสำหรับแต่ละหัวข้อ เพื่อให้ผู้ฟังทราบถึงการเปลี่ยนหัวข้อได้อย่างชัดเจน

11 โรคปวดข้อรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)
ใช้ส่วนหัวของส่วนสำหรับแต่ละหัวข้อ เพื่อให้ผู้ฟังทราบถึงการเปลี่ยนหัวข้อได้อย่างชัดเจน

12 โรคปวดข้อรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis)
ข้อแนะนำ 1. พักข้อ ใช้น้ำร้อนประคบ หรือแช่มือในน้ำอุ่น พยายามขยับข้อต่างๆ ช้าๆ ท่าละ 10 ครั้ง ทำซ้าทุก 1-2 ชั่วโมง จะช่วยลดอาการปวดลงได้ ควรฝึกการบริหารข้อต่อเป็นประจำทุกวัน และควรหาเวลาพักผ่อนสลับกับการทำงาน หรือออกกำลังกายเป็นพักๆ 2. ควรส่งโรงพยาบาล ห้ามซื้อหาชุดมากินเอง ใช้ส่วนหัวของส่วนสำหรับแต่ละหัวข้อ เพื่อให้ผู้ฟังทราบถึงการเปลี่ยนหัวข้อได้อย่างชัดเจน

13 อริยาบท การนั่ง ยืน-เดิน นอน การขับถ่าย การกิน-อาหาร

14 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
ศรีษะ (ท่าถนอมสายตา) การปวดศรีษะสาเหตุ คอ ไหล่-หัวไหล่ แขน-ข้อศอก-มือ-นิ้วมือ สะบัก หลัง เอว สะโพก ขา-เข่า ข้อเท้า-หลังเท้า-ฝ่าเท้า-นิ้วเท้า-เนินฝ่าเท้า

15 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
เพิ่มภาพนิ่งลงในแต่ละส่วนหัวข้อตามความจำเป็น รวมทั้งภาพนิ่งที่มีตาราง กราฟ และรูป ดูตัวอย่างของ ตาราง กราฟ รูป และเค้าโครงวิดีโอได้ในส่วนถัดไป

16 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
เพิ่มภาพนิ่งลงในแต่ละส่วนหัวข้อตามความจำเป็น รวมทั้งภาพนิ่งที่มีตาราง กราฟ และรูป ดูตัวอย่างของ ตาราง กราฟ รูป และเค้าโครงวิดีโอได้ในส่วนถัดไป

17 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
เพิ่มภาพนิ่งลงในแต่ละส่วนหัวข้อตามความจำเป็น รวมทั้งภาพนิ่งที่มีตาราง กราฟ และรูป ดูตัวอย่างของ ตาราง กราฟ รูป และเค้าโครงวิดีโอได้ในส่วนถัดไป

18 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
เพิ่มภาพนิ่งลงในแต่ละส่วนหัวข้อตามความจำเป็น รวมทั้งภาพนิ่งที่มีตาราง กราฟ และรูป ดูตัวอย่างของ ตาราง กราฟ รูป และเค้าโครงวิดีโอได้ในส่วนถัดไป

19 การนวดตัวเองเพื่อผ่อนคลาย
เพิ่มภาพนิ่งลงในแต่ละส่วนหัวข้อตามความจำเป็น รวมทั้งภาพนิ่งที่มีตาราง กราฟ และรูป ดูตัวอย่างของ ตาราง กราฟ รูป และเค้าโครงวิดีโอได้ในส่วนถัดไป

20 การกดจุดฝ่าเท้า ทำเนื้อหาให้กระชับ ทำข้อความของคุณให้สั้นเท่าที่จะทำได้เพื่อให้ขนาดแบบอักษรมีขนาดใหญ่

21 Microsoft Engineering Excellence
การกดจุดฝ่าเท้า ข้อมูลลับเฉพาะของ Microsoft

22 Microsoft Engineering Excellence
การกดจุดฝ่าเท้า ข้อมูลลับเฉพาะของ Microsoft

23 Microsoft Engineering Excellence
ถาม/ตอบ ข้อมูลลับเฉพาะของ Microsoft


ดาวน์โหลด ppt การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google