ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
อำไพพร ก่อตระกูล ภาคฯการพยาบาลกุมารฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. FB: Ampaiporn Kautrakool
2
ความคาดหวัง? รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ
รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ รู้ & เข้าใจ หลักการและวิธีการเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลักได้ สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องไม่หายใจและช่วยนวดหัวใจเมื่อหัวใจหยุดเต้นได้
3
WHY? ทำไมถึงสำคัญ
4
WHY? ทำไมถึงสำคัญ? Chain of Survival
5
Chain of Survival จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก ขอความช่วยเหลือจากศูนย์กู้ชีพฉุกเฉินให้เร็วที่สุด ** บันทึกเบอร์โทฯหน่วยที่ใกล้ที่สุด** นำส่งสถานพยาบาลที่มีความพร้อมเพื่อให้ได้รับ การกู้ชีพขั้นสูงให้เร็วที่สุด ให้การดูแลหลังการกู้ชีพ
6
WHY? ทำไมผู้ดูแลฯต้อง CPR ได้
เราอยู่กับ “เด็กปฐมวัย” เสี่ยงต่อการเกิดบาดเจ็บ เล็กน้อย-ถึงชีวิต: ทางเดินหายใจอุดกั้น จากการสำลักสิ่งแปลกปลอม ที่เด็กคว้าเข้าปาก
7
WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
1. สาเหตุจากตัวเด็ก ธรรมชาติตามวัย: ร่างกายยังเจริญเติบโตไม่พร้อมสมบูรณ์ จิตใจ-อารมณ์-พัฒนาการยังไม่พร้อมสมบูรณ์ สัญชาติญาณ-อยากรู้อยากเห็น เพศ: ชาย > หญิง
8
WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
2. สาเหตุจากผู้ดูแล: ขาดความเอาใจใส่ ไม่รอบคอบ/ระมัดระวัง/ประมาท-เลินเล่อ สภาพร่างกาย/จิตใจ/อารมณ์ไม่คงที่ ป่วย โกรธ เครียด เศร้าโศก ฯลฯ
9
WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
3. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม การใช้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง ธรรมชาติ: ฝนตก น้ำท่วม กายภาพ: สิ่งแวดล้อมภายใน-ภายนอกฯ
10
Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
11
Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
1. ผู้ดูแลฯ - มีสติ - รู้เรื่องเกี่ยวกับเด็ก - หมั่นตรวจความปลอดภัยของวัสดุ/เครื่องใช้ 2. สอนเด็ก - สอนด้วยเหตุผล ไม่ขู่/คาดโทษ - เป็นแบบอย่างที่ดี
12
เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก
Chain of Survival-2 เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก
13
รู้ได้อย่างไรว่าน้องสูดสำลัก?
Universal Sign
14
การปฐมพยาบาลเมื่อน้องสูดสำลัก
1. ไอแรงๆ ได้-พูดได้-หายใจปกติ รีบนำส่ง รพ. ห้าม!! ใช้นิ้วล้วงคอ จะดันสิ่งแปลกปลอมลึกจนอุดกั้น ทางเดินหายใจ 2. หายใจไม่ได้ หน้าเขียว เล็บเขียว ไอไม่ออก พูดไม่ออก รีบให้ความช่วยเหลือ จะช่วยได้อย่างไร
15
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
1. กรณีที่เด็กยังรู้สึกตัวดี ใช้วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง” ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังเด็ก ใช้แขน 2 ข้างโอบรอบเอวเด็ก ผู้ช่วยเหลือกำหมัดข้างหนึ่ง วางบริเวณเหนือสะดือเด็กเล็กน้อย ใต้ต่อกระดูกอ่อน "ลิ้นปี่”
16
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง” (ต่อ) ใช้มืออีกข้างจับมือข้างที่ กำหมัดไว้แล้ว อัดเข้าท้อง แรงๆ เร็วๆ ขึ้นไปข้างบน คล้ายกับพยายามยกเด็กขึ้น ทำซ้ำๆ หลายๆ ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอม จะหลุดออกมา หรือจนกว่า เด็กจะหมดสติ
17
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ จับเด็กนอนหงายบนพื้น
18
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) เปิดทางเดินหายใจ ด้วยวิธี "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift)
19
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ตรวจในช่องปาก
20
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอม ชัดเจน ให้ใช้นิ้วชี้ค่อยๆ เขี่ยและเกี่ยวออกมา ระวัง!!! อย่าดันแรงเกินไป หลุดเข้าไปลึกยิ่งขึ้น
21
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!!
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ช่วยหายใจ: เป่าปาก 2 ครั้ง หน้าอกยกขึ้น เป่าลมหายใจให้ต่อไป เด็กโต ~ ครั้ง/นาที เด็กเล็ก~ ครั้ง/นาที ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!!
22
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) อัดท้อง 6-10 ครั้ง ในท่านอนหงาย ทำจนสิ่งแปลกปลอมหลุด หรือผู้ป่วยหายใจเองได้
23
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ตรวจดูช่องปากอีกครั้ง เขี่ย&เกี่ยวสิ่งแปลกปลอม ที่เห็นออก
24
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ถ้าสิ่งแปลกปลอมยังไม่หลุด ออกมาหรือเด็กยังหายใจเองไม่ได้ ให้ทำตามข้อ 4-6 ไปเรื่อยๆ จนกว่า จะถึงโรงพยาบาล
25
การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ถ้าเด็กไม่หายใจ & ไม่ขยับเลย ให้เป่าปากและนวดหัวใจแทน จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล **การนวดหัวใจ อาจช่วยให้ สิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาได้ อย่าลืม!! หมั่นตรวจเช็คช่องปาก ตามข้อ 3 เป็นระยะ
26
WHAT? CPR คือ ... ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน
27
CPR มีกี่ระดับ ? การช่วยกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support: BLS) เป็นการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นหรือเต้นอ่อนแรง โดยมุ่งการช่วยเหลือฉุกเฉินให้มีอากาศและเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงร่างกาย การช่วยกู้ชีพขั้นสูง (Pediatric Advanced Life Support: PALS) เป็นการกระตุ้นให้หัวใจกลับมาทำงานโดยอาศัยเครื่องมือและยา
28
WHO? ใครสามารถ CPR ได้ ทุกคน
29
WHOM? ใครต้องการการ CPR
ทุกคนที่หมดสติ
30
HOW? CPR ทำอย่างไร ...
31
HOW? CPR ทำอย่างไร ...
32
HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
1. สำรวจสถานที่เกิดเหตุ: ปลอดภัย/อันตราย 2. ประเมินการตอบสนอง: เปิดทางเดินหายใจ ประเมินการหายใจ ( < 5 วินาที)
33
HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
3. ขอความช่วยเหลือ เตรียม AED (ถ้ามี)
34
HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
4. กดนวดหัวใจ 30 ครั้ง: วางมือกึ่งกลางหน้าอก กดลึก 1/3 ของลำตัว กดเร็ว ≥100 ครั้ง/นาที
35
HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ...
5. เปิดทางเดินหายใจ & ช่วยหายใจ 2 ครั้ง "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift) บีบจมูก ประกบปากเด็กให้สนิท ช่วยหายใจด้วยการเป่าปาก หรือผ่าน Mask ช่วยหายใจทุก ๆ หนึ่งวินาที
36
HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ...
6. CPR ต่อเนื่องจนกว่าความ ช่วยเหลือจะมาถึง: ถ้า AED มาถึง เปิดเครื่อง และทำตามคำแนะนำ
37
ไม่อยากเป่าปาก CPR ได้ไหม? อย่างไร?
(
38
HOW? CPR ทำอย่างไร ... 3-C’s for CPR CHECK CALL CARE
39
สรุป ขั้นตอนการทำ CPR
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.