งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร II"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 344-492 โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร II
การเขียนบทความวิจัย

2 โครงสรางของบทความวิจัย
บทความทั่วไป ประกอบดวย ชื่อบทความ (Titlepage) บทคัดยอ (Abstract) บทนํา (Introduction) ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เนื้อหา วิธีการ (methods) ผลลัพธ (results, บทวิจารณ (discussion,) บทสรุป (Conclusions) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) เอกสารอางอิง (References)

3 ตัวอยางบทความ

4 วิธีการตั้งชื่อบทความ
ไมจําเปนตองเปนชื่อเดียวกับโครงงาน ดึงดูด (Attractive) อธิบาย (Descriptive) สั้น กระชับ(Short) สอดคลองกับเนื้อหาในบทความ (Consistentwiththetext) เขาใจงาย (Easytounderstand) สืบคนในฐานขอมูล เชน หองสมุดดิจิตอล ไดงาย (Easytoretrievefroma database)

5 บทคัดยอ ใหสาระ ภาพรวมของบทความ และควรจะมีความเขาใจงายในตัวบทคัดย อเอง ชวยทําใหผูอานตัดสินใจไดวา จะอานตอไปหรือไม โดย บทคัดยอ ควรมีเนื้อหาดังนี สิ่งที่ผูเขียนศึกษา ระบุปญหาที่เปนที่มาของการทําโครงงาน วิธีการที่ทําการศึกษา สิ่งที่ได บทสรุป

6 การเขียนบทนํา บทนํา เปนการเกริ่นบอกกลาวใหรูวาจะเขียนเรื่องอะไร การขึ้นบท นํามีอยู ๒ แบบ คือ การกลาวทั่วไปกอนที่จะวกเขาเรื่องที่จะเขียน การกลาว เจาะจงลงไปตรงกับหัวเรื่องที่จะเขียนเลยทีเดียว การเขียนบทนํา ตองใหนาอานชวนติดตาม เพราะผูอานนิยมอ านยอหนาแรกกอน

7 การเขียนบทนํา (ตอ) โดยทั่วไป การเขียนบทนําควรจะมีโครงสรางดังนี้
ระบุวัตถุประสงคของการเขียนบทความนี้ อธิบายสาเหตุของงานในบทความ ความสัมพันธของบทความนี้ที่อาจเปนประโยชนกับงานอื่นๆ ในอนาคต ยอหนาสุดทายของบทนําอาจบอกเนื้อหาตอมาของบทความวา ประกอบดวยอะไรบาง

8 การเขียนบทนํา (ตอ) ตัวอยางยอหนาสุดทายในบทนํา
เนื้อหาของบทความในสวนที่ 2 จะกลาวถึงที่มาและแรงจูงใจของปญหา ส วนที่ 3 อธิบายถึง งานและทฤษฎีที่เกี่ยวของ การออกแบบและพัฒนาระบบ จะแสดงในสวนที่ 4สวนที่ 5 และ 6 จะกลาวถึงการทดสอบใชงานและ บทสรุป ตามลําดับ

9 การเขียนทฤษฏีและงานที่เกี่ยวของ
ถาไมใชเปนสวนของโครงงานที่ผูเขียนคิด หรือพัฒนาขึ้น ตองอ างอิงแหลงที่มา เนื้อหาความรูที่ตองมีการอางอิง ตัวเลขหรือขอความสถิติ ขอความเปนแนวความคิด ผลการวิจัยและสิ่งประดิษฐ รวมตาราง แผนภูมิและรูปภาพ วิธีการอางอิงผลงานผูอื่น คัดลอก ถอดความ สรุป

10 หลักการเขียนขอความที่อางอิง
ระบุชื่อหรือไม่ระบุชื่อเจ้าของผลงาน ถอดความ สรุป หรือคัดลอก การใสเครื่องหมายอัญประกาศหรือไมใส

11 การเขียนสวนเนื้อเรื่อง
เปนสวนที่สําคัญและเปนสวนที่ยาวที่สุด รวมความคิดและขอมูล ทั้งหมด ยอหนาแตละยอหนาในเนื้อเรื่องจะตองสัมพันธเป นเรื่องเดียวกัน มีลําดับขั้นตอนไมวกวนไปมา กอนที่จะเขียนบทความผูเขียนจึงตองหาขอมูล หาความรูที่จะนํามา เขียนเสียกอน การหาขอมูลนั้นอาจไดจากการสัมภาษณ การสอบถามผู รู การเดินทางทองเที่ยว การอานหนังสื่อพิมพหรือหนังสื่อตางๆ ใน การเขียนเนื้อเรื่องควรคํานึงสิ่งตางๆ ดังนี้ ๑. ใชถอยคําที่ถูกตองตามความหมาย ใชตัวสะกดถูกตองตามพจนานุกรม ๒. ใชสํานวนโวหารใหเหมาะกับเรื่อง เชน ใชถอยคําที่เปนทางการ ใช ศัพทเฉพาะในการเขียนบทความทางวิชาการ ๓. มีขอมูล เหตุผล สถิติและการอางอิงประกอบเรื่อง เพื่อใหเขาใจงาย และนาเชื่อถือ

12 การเขียนบทสรุป เปนสวนที่ผูเขียนตองการบอกใหผูอื่นทราบวา ขอมูลทั้งหมด ที่เสนอมาไดจบลงแลว ผูเขียนควรมีกลวิธี ที่จะทําใหผูอาน พอใจ ประทับใจ สวนสรุปนี้เปนสวนที่ฝากความคิดและปญหาไวกับผูอ านหลังจากที่อานแลว การเขียนสรุปหรือคําลงทายมีหลายแบบดังนี้ ๑. สรุปดวยคําถามที่ชวนใหผูอื่นคิดหาคําตอบ ๒. สรุปดวยการแสดงความประสงคของผูเขียน ๓. สรุปดวยใจความสําคัญ

13 การระบุแหลงอางอิง ระบบนามป ระบบตัวเลข ระบบเชิงอรรถ

14 ตัวอย่างรูปแบบการเขียนบทความจากงานประชุมวิชาการ


ดาวน์โหลด ppt โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google