ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
2
ความเป็นมา การผลิตสื่อการเรียนการสอนของภาควิชากุมารเวชศาสตร์ VDO CAI
Sound slide พ.ศ. 2538 2545 2552
3
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องที่สอนให้มีความละเอียดยิ่งขึ้น
1. เพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องที่สอนให้มีความละเอียดยิ่งขึ้น 2. หัวข้อที่ไม่ได้สอนในชั้นเรียน แต่นศพ.น่าจะได้เรียนรู้ 3. ลดเวลาการเรียนในชั้นเรียน
4
แนวทางการผลิตสื่อ E-learning
1. สื่อที่จำเป็น - การซักประวัติและการตรวจร่างกาย - หัตถการในเด็ก 2. สื่อที่อาจารย์เลือกผลิตโดยอิสระ
5
สื่อที่จำเป็น วีดิทัศน์ จำนวน 8 เรื่อง 1. การซักประวัติและตรวจร่างกาย
1. การซักประวัติและตรวจร่างกาย 2. หัตถการในเด็ก การห่อตัวเด็ก การเช็ดตัวเด็ก การวัดปรอท การวัดความยาวเด็ก การฉีดยา การพ่นยา การให้ออกซิเจน
6
สื่อที่อาจารย์เลือกผลิตโดยอิสระ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 13 เรื่อง 1. เด็กตัวเตี้ย 2. Rheumatic fever and heart disease 3. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. การเจริญเติบโตและพัฒนาการในเด็ก 5. Pediatric AIDS 6. ภาวะปกติที่พบได้ในทารกแรกเกิด 7. Pediatric Cardiology : New Paradigm 8. การใช้ยาในเด็ก 9. เลือดออกผิดปกติในเด็ก 10. สารพันปัญหาเด็กโรคระบบต่อมไร้ท่อ 11. ไข้ออกผื่น 12. ธาลัสซีเมีย 13. การประเมินพัฒนาการเด็ก
7
สรุป จำนวนเรื่องและปีที่ผลิต
VDO CAI ก่อนปี พ.ศ ปี พ.ศ ปี พ.ศ - จำนวนอาจารย์ที่ผลิตสื่อ 9/23 คน (39.1%) - เนื้อหาของบทเรียน ความรู้พื้นฐาน 7/13 เรื่อง (53.9%) ความรู้เชิงลึก 6/13 เรื่อง (46.1%)
8
การดำเนินการจัดการเรียนการสอน
1. จัดชั่วโมงให้ศึกษาพร้อมกันทั้งชั้นเรียน การซักประวัติและตรวจร่างกาย หัตถการในเด็ก 2. ให้ศึกษาด้วยตนเองโดยจัดชั่วโมงสำหรับ Self study การใช้ยาในเด็ก (เมื่อปฏิบัติงานที่คลินิกผู้ป่วยนอก) ภาวะปกติที่พบได้ในทารกแรกเกิด (เมื่อปฏิบัติงานที่ NICU) 3. ให้ศึกษาเองโดยอิสระ
9
การดำเนินการจัดการเรียนการสอน
จัดเตรียมสื่อการเรียนสำหรับนักศึกษา เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้า Internet ได้ Copy ใส่ CD 2 ชุด สำหรับให้นักศึกษายืม
10
การประเมินผล ประเมินจำนวนนักศึกษาที่ใช้สื่อ ประเมินสื่อทุกเรื่อง
ประเมินในภาพรวม ประเมินคุณภาพสื่อ หัตถการในเด็ก
11
ผลการประเมิน วีดิทัศน์ ปี พ.ศ.
% นศพ.ที่ได้ศึกษา ปี พ.ศ. วีดิทัศน์ ท่าทีของแพทย์ในการซักประวัติและตรวจร่างกายผู้ป่วยเด็ก หัตถการในเด็ก
12
ผลการประเมิน * * * * * * * * * * * * * * * * * *
% นศพ.ที่ได้ศึกษา * * * * * * * * * * * * * * * * * * ปี พ.ศ. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
13
การประเมินคุณภาพสื่อ
ประเมินคุณภาพ วีดิทัศน์หัตถการในเด็ก รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือกอุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการนำไปปฏิบัติ
14
จำนวนนักศึกษา 65 คน การเช็ดตัว รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์
เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ การวัดปรอท รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ การห่อตัวเด็ก รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ การฉีดยา SC รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ จำนวนนักศึกษา 65 คน VDO Practice
15
การฉีดยา IM รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ การให้น้ำเกลือ รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ การเจาะเลือดส้นเท้า รู้จักอุปกรณ์ สามารถเลือก อุปกรณ์ เข้าใจขั้นตอน มั่นใจในการ ปฏิบัติ VDO Practice
16
ผลการประเมินความพึงพอใจ
Mean จำนวนนักศึกษา 47 คน
17
ผลการประเมินความพึงพอใจ
ร้อยละของนักศึกษา คะแนน จำนวนสื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ ความสะดวก จำนวนนักศึกษา 47 คน
18
ความคิดเห็นของนักศึกษา
การ load CAI จาก web ยังไม่สะดวก อยากให้ copy CD แจก อยากให้ lecture และมี CAI ด้วย
19
E-learning ที่นักศึกษาชอบติดอันดับ 1 ใน 3
วิดีทัศน์ การห่อตัวเด็ก การเช็ดตัวเด็ก การซักประวัติและตรวจร่างกาย การวัดปรอท
20
E-learning ที่นักศึกษาชอบติดอันดับ 1 ใน 3
CAI ไข้ออกผื่น การเจริญเติบโตและพัฒนาการ การประเมินพัฒนาการ การใช้ยาในเด็ก ภาวะปกติที่พบได้ในทารกแรกเกิด
21
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล E-learning
1. จำนวนอาจารย์ที่ผลิตสื่อยังมีน้อย 2. เนื้อหาของสื่อ: ความรู้พื้นฐานและเชิงลึก =1: 1 3. สื่อที่นักศึกษาสนใจ: ความรู้พื้นฐาน 4. การจัดชั่วโมงเรียนที่ชัดเจน ช่วยให้นักศึกษาได้ศึกษาสื่อนั้นๆอย่างแน่นอน
22
การวางแผนการผลิตสื่อ E-learning ในระยะต่อไป
- ส่งอาจารย์ใหม่ 3 คน เข้าอบรมการผลิตสื่อ - ผลิตสื่อคนละ 1 เรื่อง ภายในปี พ.ศ. 2553/อาจารย์อาวุโสเป็นพี่เลี้ยง - ในระยะยาว มีการกระตุ้น ติดตาม เป็นระยะ กำหนดหัวข้อที่เหมาะสม การดำเนินการให้นักศึกษาเข้าถึงสื่อได้ง่ายขึ้น การจัดชั่วโมงเรียน การเข้าถึง internet
23
การวางแผนการผลิตสื่อ E-learning ในระยะต่อไป
ปรับปรุงสื่อเก่าให้ทันสมัย ได้ดำเนินการไปแล้วในหัวข้อหัตถการในเด็ก ได้แก่ 1. การใช้ผ้าห่อตัวเด็ก การใส่สายสวนปัสสาวะ 2. การวัดอุณหภูมิร่างกาย การฉีดยา 3. การเช็ดตัวเด็กเพื่อลดไข้ การเจาะตรวจน้ำไขหลัง 4. การเจาะเลือดจากส้นเท้า การใส่ umbilical vein 5. การใส่สายให้อาหาร การทำ intraosseous infusion
24
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.