งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา
Blood Feeding and Repellent Actions on Mosquitoes of Neem Seed Extract

2 ยุงพาหะนำโรคที่สำคัญ
รูปที่ 2 ยุงลาย (Aedes spp.) รูปที่ 3 ยุงก้นปล่อง (Anopheles spp.) รูปที่ 1 ยุงรำคาญ (Culex spp.) ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)

3 วงจรชีวิตของยุง รูปที่ 4 วงจรชีวิตของยุง ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)

4 การใช้สารสะเดาควบคุมแมลง
ชนิดของสะเดาและสารออกฤทธิ์ในการกำจัดแมลง รูปที่ 5 สะเดาอินเดีย (Azadirachta indica A. Juss) รูปที่ 6 สะเดาไทย (Azadirachta indica A. Juss var. siamensis) รูปที่ 7 สะเดาช้าง (Azadirachta exelsa Jack) ที่มา : นิรนาม, (ม.ป.ป.)

5 การออกฤทธิ์ของสะเดาต่อแมลงศัตรูพืช
1. การยับยั้งกระบวนการลอกคราบ 2. การยับยั้งการกิน 3. การยับยั้งการวางไข่ 4. ผลต่อการเคลื่อนไหวและการบิน

6 ผลของสารสกัดสะเดาต่อลูกน้ำ
ตารางที่ 1 ผลของการใช้น้ำมันจากสะเดาอินเดียต่อลูกน้ำ ชนิดของยุง วัยของลูกน้ำ น้ำมันจากสะเดาอินเดีย อัตราการตายที่ 24 ชั่วโมง (%) C. pipiens fastigans 1 0.005% 100% A. aegypti 4 0.02% C. quinquefasciatus 0.2% ที่มา : มานิต, (2543); Attri and Prasad, (1980); Sinniah and Jamaiah, (1994) and Zebitz, (1987)

7 ผลของสารสกัดสะเดาต่อลูกน้ำ (ต่อ)
ตารางที่ 2 ผลของการใช้สารสกัดหยาบจากเมล็ดสะเดาอินเดียต่อลูกน้ำ ชนิดของยุง วัยของลูกน้ำ น้ำมันจากสะเดาอินเดีย อัตราการตายที่ 24 ชั่วโมง (%) A. aegypti 4 0.02% 100% C. quinquefasciatus ที่มา : มานิต, (2543) และ Sinniah and Jamaiah,(1994)

8 ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง
ตารางที่ 3 ผลของการใช้ครีมสะเดาอินเดียที่ความเข้มข้น 5% โดยใช้ 2 กรัม ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) An. culicifacies 95% Anopheles spp. 92% Culicine 91% ที่มา : Singh และคณะ (1996)

9 ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ)
ตารางที่ 4 ผลของการใช้น้ำมันสะเดาอินเดีย 2% ผสมกับน้ำมันมะพร้าว ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) Anopheles spp. 96-100% Aedes spp. 85% C. quinquefasciatus 61-94% ที่มา : Sharma และคณะ (1995)

10 ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ)
ตารางที่ 5 ผลของการใช้น้ำมันสะเดาอินเดีย 1.5 และ 2.0 กรัม ชนิดของยุง จำนวนยุงที่มาเกาะที่มือ 1.5 กรัม 2.0 กรัม A.aegypti 0-4% 0-2% ที่มา : Hati และคณะ (1995)

11 ประสิทธิภาพของสารสกัดสะเดาในการไล่ยุง (ต่อ)
ตารางที่ 6 ผลของการใช้ครีมสะเดาอินเดีย 2.0 กรัม ชนิดของยุง อัตราการไล่ที่ 24 ชั่วโมง (%) Aedes spp. 78% Culex spp. 89% Anopheles spp. 94.4% ที่มา : Dua และคณะ (1995)

12 ผลของสารสกัดเมล็ดสะเดาต่อการดูดเลือด
Neem azal® + เลือดที่ทำขึ้นเอง ลดการดูดเลือด Neem azal® + น้ำหวาน

13 สรุป สารสกัดสะเดา ลดประชากร ลดสารเคมี ปลอดภัย

14 เสนอโดย... น.ส. จุฑาทิพย์ เพ็ชรสมบูรณ์ 4740043
อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนา ผศ.ดร. อรัญ งามผ่องใส ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทร


ดาวน์โหลด ppt ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google