ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
ระบาดวิทยา an acute and most highly communicable disease of all cloven footed animals; including hedgehogs ,elephants but rodents served as reservoirs ทำให้เกิดผลกระทบที่มีความ สูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก แม้ว่าโรคนี้จะไม่ได้ทำให้สัตว์ตาย เหมือนโรคระบาดที่ร้ายแรงอื่นๆ
2
สูญเสียผลผลิต ~25% สูญเสียตลาดส่งออกปศุสัตว์และผลผลิตจากสัตว์ สูญเสียงบประมาณในการควบคุมและป้องกันโรค เช่น การระดมกำลังคนในการออกฉีดวัคซีนหรือต้องจ่ายค่าชดเชยในการขอทำลายสัตว์ ซึ่งหากจ่ายน้อยกว่าความจริงก็จะมีการลักลอบนำซากสัตว์ไปขายยังตลาดที่อื่น ทำให้การควบคุมโรคใช้เวลานานและบ่อยครั้งที่ยากจะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา
3
อุบัติการณ์ของโรคพบได้ในเกือบทุกประเทศในโลก
ประเทศที่ไม่เคยพบโรค คือ AU*, NZ* ประเทศที่พบโรคเป็นครั้งคราว คือ กลุ่มอเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศในยุโรป ประเทศที่พบโรคเป็นประจำ คือ กลุ่มทวีปเอเซีย อาฟริกา และอเมริกาใต้ สาเหตุ “aphthovirus”, 7 strains: A*, O*, C, SAT1, SAT2, SAT3, and Asia1* ประเทศไทยมีระบาด 3 strain คือ A, O และ Asia1
4
อาการและรอยโรค เริ่มจากสัตว์มีไข้ เบื่ออาหาร มีน้ำลายย้อย เมื่อเปิดปากดู จะพบวิการเป็นตุ่มน้ำใส และตุ่มนี้จะแตก ทำให้เป็นแผลที่บริเวณลิ้น เหงือก เพดาน ภาพแสดงโรคปากและเท้าเปื่อยในโค ที่มาภาพ
5
ภาพแสดงโรคปากและเท้าเปื่อยในโค
ในขณะที่ไล่เลี่ยกัน เชื้อจะไปตามกระแสเลือด ลงไปสู่ที่กีบเท้า โดยเฉพาะที่ไรกีบและที่ระหว่างกีบ ทำให้เกิดตุ่มน้ำใสและแตกออกเช่นเดียวกัน แสดงแผลที่เริ่มหาย ที่มาภาพ :
6
อาการโรคปากเท้าเปื่อยในสุกร
ตุ่มน้ำใสที่ลิ้นและจมูกในวันแรกที่แสดงอาการ อาการที่ปากจะไม่ชัดเจนเหมือนในโค ที่มาภาพ:
7
อาการปากเท้าเปื่อยอย่างรุนแรงในสุกร
อาการที่กีบจะรุนแรงมากกว่าสัตว์ชนิดอื่น
8
อาการในแกะ สัตว์มีอาการปากเปื่อยและขากระเผลก แต่ไม่ชัดเจนเหมือนในโค
สัตว์มีอาการปากเปื่อยและขากระเผลก แต่ไม่ชัดเจนเหมือนในโค ที่มา: Linklater, K.A. and Smith, M.C Color Alas of Diseases and Disorders of the Sheep and Goat. ตุ่มน้ำใสที่ไรกีบ เห็นไม่ชัดเท่ากับในโค โรคปากและเท้าเปื่อย แผลที่เหงือกบน
9
Rule of Thumb Carrier Amplifier Indicator โรคปากและเท้าเปื่อย
10
ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดของโรค (Pereira, 1981)
สามารถติดต่อได้หลายทาง esp. โดยการกินการหายใจ และติดต่อผ่านอากาศ (air-borne) สุกรสามารถแพร่เชื้อได้ดีกว่าสัตว์ชนิดอื่น esp. โดยการหายใจ มีระยะฟักตัวของโรคสั้น เฉลี่ย 3 วัน ในขณะที่สัตว์ป่วยหายแล้วยังคงเป็นพาหะได้อีกนาน ไวรัสสามารถมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมได้ดี ทนต่ออุณหภูมิ เชื้อมี antigenicity มาก และแต่ละชนิดไม่ก่อให้เกิดภูมิต้านทานที่ครอบคลุม ต่อโรคได้ (no cross immunity protection) โรคปากและเท้าเปื่อย
11
การควบคุมและป้องกันโรค
1. การทำวัคซีนโดยทั่วไป 2. การนำเข้าสัตว์และ ผลิตภัณฑ์สัตว์จาก ต่างประเทศต้องมีมาตรการ ตรวจกักอย่างเข้มงวด 3. ห้ามการเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าออกบริเวณที่เกิดโรค ที่มาภาพ: โรคปากและเท้าเปื่อย
12
การควบคุมและป้องกันโรค (ต่อ)
4. Whole sale slaughter and full compensation ไม่เกิดการลักลอบนำสัตว์ไปขายที่อื่น 5. ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อพ่นบริเวณที่มีการระบาดของโรค โรคปากและเท้าเปื่อย
13
การควบคุมและป้องกันโรค (ต่อ)
6. Ring vaccination 7 Establish disease information system 8. Data analysis and simulation modelling โรคปากและเท้าเปื่อย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.