ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ATM NETWORK
2
การส่งและรับ cell ข้อมูล
ATM Cell Structure AAL ATM Switch ATM reference model A T M การส่งและรับ cell ข้อมูล ATM V.S. OSI Connection Type ข้อดี ข้อเสีย ของ ATM
3
Time Division Multiplexing
General About ATM เป็นการรวมกันของเทคโนโลยีที่รู้จักกันดี Packet Switching banwidth requirement resource allocation Time Division Multiplexing
4
ATM Feature General About ATM Fixed cell size
Error & flow control Fixed cell size ทุก ๆ cell จะถูกส่งผ่านตามเส้นทาง virtual circuit ที่กำหนดไว้โดย ATM Switching IS Scalable and flexible ATM จะเป็นมาตรฐานที่มีการรวมเอาข้อมูล เสียง video และ data ส่งใน network เดียวกัน
5
ATM Cell Format
6
ATM Cell Header Format UNI NNI
การ interface ดังกล่าวนี้มี 2 กลุ่ม คือ User-Network Interfaces (UNI) และ Network-Node Interfaces (NNI) UNI คือ interface ที่เกิดขึ้น ระหว่าง ATM endpoint และ ATM switch NNI คือ interface ระหว่าง เครือข่าย ATM สองเครือข่ายรวมถึง ระหว่าง ATM switch ใดๆ 2 ตัว UNI NNI
7
ATM Cell Header Format UNI Cell Structure NNI
8
BACK ATM Cell Header Format Cell Structure
9
ATM MODEL User Layer Adaptation Layer ATM Layer Physical Layer
10
ATM MODEL
11
ATM MODEL Physical Layer : เป็นข้อ กำหนดทางกายภาพ
เกี่ยวกับตัวนำสัญญาณที่ ใช้ในการส่งสัญญาณดิจิตอล ATM Layer : ทำหน้าที่สร้างส่วน header ของเซลล์ และประมวลผลส่วน header ของเซลล์ที่รับเข้ามา
12
ATM MODEL ATM Adaptation Layer (AAL) :
ทำหน้าที่ปรับบริการที่ได้รับจากชั้น ATM ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของโพรโตคอลและแอปพลิเคชั่น ในชั้น higher layer User Layer : เป็นชั้นของแอปพลิเคชั่น จากผู้ใช้ซึ่งจะวิ่งไปบนโครงสร้าง ของ ATM Model ด้านล่างอีกทีหนึ่ง
13
ATM Model V.S. OSI Model
14
ATM Adaptation Layer (AAL)
1. Convergence Sublayer (CS) ทำหน้าที่ในการสร้าง Protocol Data Unit (PDU) 2. Segmentation and Reassembly Sublayer(SAR) ทำหน้าที่แบ่ง PDU ออกเป็นเซลล์ที่เท่าๆกันและเติมหัวและท้ายของ SAR header ที่เติมเข้าไปใน SAR -PDU ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ คือ Type Sequence number Multiplexing identifier
15
ชนิดของ AAL AAL 1 มีขนาด payload 47 bytes ต่อ cell
Sequence Number(SN) ใช้สำหรับตรวจจับเซลล์ที่สูญหายหรือเซลล์ที่อยู่ในลำดับไม่ถูกต้อง Sequence Number Protection(SNP) ใช้สำหรับตรวจสอบหมายเลขลำดับซึ่งใช้แก้ไขได้ในกรณีที่การผิดพลาดเกิดขึ้นเพียง 1 bit และใช้ตรวจสอบเมื่อมีการผิดพลาด 2 bit
16
AAL 2 payload มีขนาด 45 bytes ต่อ cell
SN บอกลำดับของเซลล์เพื่อตรวจสอบเซลล์ที่สูญหายหรืออยู่ในลำดับที่ไม่ถูกต้อง Information Type (IT) บอกตำแหน่งข้อมูลที่อยู่ในเซลล์(ข้อมูลส่วนเริ่มต้น,ส่วนกลาง หรือส่วนท้าย) Length Indicator(LI)บอกขนาดของข้อมูลที่อยู่ในเซลล์นั้นๆ(0 ถึง 45 byte) Cyclic-Redundancy-Check (CRC)ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล SN IT 45-Byte payload LI CRC
17
AAL 3/4 Payload มีขนาด 44 bytes ต่อ cell
Segment Type (ST) ใช้กำหนดขอบเขตของข่าวสาร Sequence Number (SN) บอกหมายเลขลำดับของเซลล์ MID บอกหมายเลขช่องการสื่อสารของเซลล์นั้นๆ Length Indicator (LI) บอกขนาดของข้อมูลที่อยู่ในเซลล์ CRC ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
18
AAL 5 Payload มีขนาด 48 bytes ต่อ cell
19
CONNECTION TYPES Point-to-Point Point-to-Multipoint
21
ATM Switch Cells come in Cells are switched Cells go out
1. สวิตช์ต้องทิ้งเซลล์ให้น้อยที่สุด 2. ลำดับของเซลล์ที่ถูกส่งผ่าน virtual circuit หนึ่งต้องไม่ถูกเปลี่ยนแปลง เมื่อมีเซลล์เข้ามาหลายเซลล์พร้อมกันในหนึ่งรอบ และต้องการไปยังสายออกเดียวกัน ดังแสดงในรูป วิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ คือ การให้มีบัฟเฟอร์ที่สายขาออกของสายสื่อสาร ดังแสดงในรูป Cells come in Cells are switched Cells go out Switching fabric
22
Cell destined Start for line 2 of cycle 1 Start of cycle 2
1 3 2 1 Start of cycle 3 Start of cycle 4 2 3
23
Start of cycle 1 Start of cycle 2 Start of cycle 3
1 3
24
ATM การส่งเซลล์ การรับเซลล์ การสร้างการติดต่อ
25
การส่งเซลล์ เมื่อมีข้อมูลถูกส่งมาจากโปรแกรมประยุกต์ ระดับชั้น ATM จะแบ่งข้อมูลออกเป็นเซลล์ โดยจะมีการปะเฮดเดอร์จำนวน 5 ไบต์ และส่งเซลล์ข้อมูลให้แก่ระดับชั้นย่อย TC ซึ่ง TC ก็จะทำการคำนวณผลรวมตรวจสอบของเฮดเดอร์ (HEC ; Header Error Control) ซึ่งการคำนวณผลรวมตรวจสอบของเฮดเดอร์ก็เพื่อป้องกันไม่ให้มีการส่งเซลล์ข้อมูลไปในทิศทางที่ผิดพลาด
26
การรับเซลล์ ในการรับเซลล์ข้อมูลนั้น ระดับชั้นย่อย TC จะทำหน้าที่รับสายของบิตข้อมูลเข้ามาตรวจหาขอบเขตของเซลล์ ตรวจเช็คความถูกต้องของเฮดเดอร์ แล้วส่งเซลล์ข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ระดับชั้น ATM
27
การสร้างการติดต่อ รูปแบบการส่งข้อมูล ATM เป็นแบบ connection-oriented กล่าวคือจะมีการสร้าง connection จากต้นทางถึงปลายทางกำหนดเส้นทางที่แน่นอนก่อน แล้วจึงเริ่มส่งข้อมูล เมื่อส่งข้อมูลเสร็จก็ปิด connection การสร้างการติดต่อทำได้หลายวิธี ติดต่อผ่านเวอร์ชวลพาทหมายเลข 0 เวอร์ชวลเซอร์กิจหมายเลข 5 สำเร็จแล้วสร้างการติดต่อกับปลายทางด้วยเวอร์ชวลเซอร์กิจหมายเลขใหม่
28
Adventage AND Disadventage
29
3.ใช้ได้กับข้อมูล ทุกรูปแบบ 4. พัฒนามาเพื่อการ ส่งข้อมูลทั้งใน ระยะใกล้(LAN) และไกล(WAN) 2. สามารถใช้ได้ ที่ ความถี่สูงมาก 1.สามารถทำงาน ร่วมกันได้แม้ อุปกรณ์จะ ต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐาน เดียวกัน 5.มีการ รับประกัน คุณภาพ การส่ง
31
อาจเกิดเซลล์ สูญหายจากการชนได้ Overhead ขั้นตอนซับซ้อน
32
จบแล้วจ้า By….. YING AAE BAS
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.